ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สนธิสัญญาโลคาร์โน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ลิงก์ข้ามภาษาด้วยบอต
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 15:
== ผลที่ตามมา ==
 
สนธิสัญญาโลคาร์โนนั้นถูกพิจารณาว่ามันจะเป็นหลักสำคัญที่จะพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศภายในทวีปยุโรป ซึ่งเริ่มต้นด้วยความหวังที่จะมีสันติภาพทั่วโลก เรียกว่า "จิตวิญญาณแห่งโลคาร์โน" ซึ่งปรากฎปรากฏให้เห็นเมื่อเยอรมนีเข้าเป็นสมาชิกของ[[สันนิบาตชาติ]] และภายในเดือนมิถุนายน 1930 กองทัพพันธมิตรก็ถอนตัวออกจากแคว้น[[ไรน์แลนด์]]ทั้งหมด
 
ตรงกันข้ามกับโปแลนด์ มหาชนชาวโปแลนด์ได้รับควมอับอายจากความล้มเหลวของฑูตทูตโปแลนด์และเป็นเหตุที่นำไปสู่การเปลี่ยนรัฐบาลของโปแลนด์ สนธิสัญญาโลคาร์โนนั้นก็ยังทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างฝรั่งเศสกับโปลแนด์เลวร้ายลงไปอีก (แม้ว่าจะยังคงเป็นพันธมิตรระหว่างกัน) และเป็นจุดเริ่มต้นของความหวาดระแวงระหว่างโปแลนด์กับชาติตะวันตก<ref> Stanisław Sierpowski, "Polityka zagraniczna Polski międzywojennej", Warszawa 1994</ref> สนธิสัญญาโลคาร์โนได้แบ่งทวีปยุโรปออกเป็นสองส่วน ส่วนหนึ่งได้รับการรับรองจากสนธิสัญญาโลคาร์โน และส่วนที่เหลือไม่ได้รับการคุ้มครอง ดังคำของ Józef Beck กล่าวไว้ว่า "เยอรมนีได้ขออย่างเป็นทางการจะโจมตีทางตะวันออก เพื่อให้ทางตะวันตกเกิดสันติภาพ"<ref>Józef Beck, "Dernier rapport. Politique polonaise 1926 - 1939", 1951</ref> ความล้มเหลวในการเจรจาจากสนธิสัญญาโลคาร์โนนั้นเป็นตัวแปรหนึ่งที่ Józef Piłsudski ตัดสินใจที่จะล้มล้างรัฐสภาของโปแลนด์<ref> Marian Eckert, "Historia polityczna Polski, lata 1918-1939". Warszawa 1989 </ref>
 
ข้อยกเว้นหนึ่งที่เกิดขึ้นหลังจากสนธิสัญญาโลคาร์โนก็คือ [[สหภาพโซเวียต]] ซึ่งได้มองตะวันตก ''(détente)'' นั้นได้พยายามเก็บตัวเองจากความขัดแย้งในทวีปยุโรปด้วยนโยบายโดดเดี่ยว โดยเฉพาะอย่างยิ่งโดยการถอดถอนเยอรมนีออกจากความสัมพันธ์กับตนภายใต้[[สนธิสัญญาลาพาลโล]]แห่งปี 1922 และความตึงเครียดก็ได้เริ่มขึ้นในช่วงยุโรปตะวันออก ด้วยเหตุนี้ เยอรมนีจึงจ่ายเงินราว 50 ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริกาให้กับสหภาพโซเวียต