ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาวเทียมพ้องคาบโลก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Idioma-bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: su:Orbit Géosinkron
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
'''ดาวเทียมพ้องคาบโลก''' (Geosynchronous satellite) คือดาวเทียมที่มีเส้นทาง[[วงโคจร]]ที่เวียนมาซ้ำจุดเดิมอยู่เสมอเป็นประจำ หากวงโคจรของ[[ดาวเทียม]]ประเภทนี้อยู่เหนือ[[เส้นศูนย์สูตร]]และมีและโคจรเป็นวงกลม เราจะเรียกดาวเทียมประเภทนี้ว่า [[ดาวเทียมประจำที่]] (Geostationary satellite) วงโคจรของดาวเทียมจึงมีชื่อเรียกสองอย่างคือ ''วงโคจรพ้องคาบโลก'' และ ''วงโคจรประจำที่'' วงโคจรพ้องคาบโลกอีกประเภทหนึ่งได้แก่ ''วงโคจรวงรีทรุนดา'' (Tundra elliptical orbit)
 
เส้น 15 ⟶ 16:
ข้อเสียของการใช้ดาวเทียมแบบนี้ก็คือระดับที่สูงมาก สัญญาณจึงต้องใช้เวลาวิ่งไป-กลับประมาณ 0.25 วินาที่ ทำให้เกิดการเสียเวลาเหลื่อมที่สร้างปัญหาแก่สัญญาณวิทยุสื่อสารและสัญญาณ[[โทรศัพท์]]ที่ต้องโต้ตอบกันไปมา แต่ก็ไม่มีปัญหาใดๆ สำหรับสัญญาณโทรทัศน์เพราะเป็นสัญญาณทางเดียว
 
== ประวัติ ==
==ความเป็นมา==
แนวคิดนี้เกิดจากข้อเสนอของนักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ชื่อ [[อาเทอร์ ซี. คลาร์ก]] ที่เคยเสนอบทความเรื่อง "โลกไร้สาย" เมื่อ [[พ.ศ. 2488]]