ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความสัมพันธ์ไทย–พม่า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับพม่า ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น [[ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยก�
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{เก็บกวาด}}
การติดต่อการค้าขายกับพม่าเป็นไปอย่างขัดแย้งกันในสมัยกรุงธนบุรีเป็นราชธานีหรือนับตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีมาก่อนแล้ว เพราะว่าพม่ายกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยาจนเสียกรุงครั้งที่ 2 ในปีพ.ศ. 2310 และพม่าได้จุดไฟเผาบ้านเรือนราษฎร วัดวาอาราม ปราสาท และวัง จนเสียหายยับเยินไปเป็นจำนวนมาก จนกระทั่ง 6 เดือนต่อมา[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]]ทรงต่อเรือที่เมืองจันทบุรีแล้วเข้าสู่ปากอ่าว ธนบุรี และอยุธยา โดยขับไล่พม่าออกไปจากอยุธยาจนทำให้พม่าไม่สามารถตีไทยได้อีกในสมัยธนบุรีนั้นเอง
 
# พ.ศ. 2311 ไทยตีค่ายพม่าที่บางกุ้ง เมืองสมุทรสงครามจนทำให้พม่าต้องแตกพ่ายกลับไป เพราะเสียเรือรบ ศัตราวุธ และเสบียงอาหารไปเป็นจำนวนมาก
# พ.ศ. 2313 พม่าตีเมืองสวรรคโลก แต่ไม่เป็นผลสำเร็จและในปีเดียวกันนั้นตีเมืองเชียงใหม่ ไม่สำเร็จ
# พ.ศ. 2315 พม่าตีเมืองพิชัยครั้งแรก ไม่สำเร็จ
# พ.ศ. 2316 พม่าตีเมืองพิชัยครั้งที่ 2 ไม่สำเร็จอีกครั้งเพราะถูกขับไล่โดย[[พระยาพิชัยดาบหัก]]
# พ.ศ. 2317 ตีเมืองเชียงใหม่ครั้งที่ 2 จนสำเร็จในที่สุดและในปีเดียวกันนั้นตีค่ายพม่าที่บางแก้ว เมืองราชบุรีแตกพ่าย ทหารพม่าถูกจับเป็นเชลยเป็นจำนวนมาก
# พ.ศ. 2318 พม่าเข้ามาตีหัวเมืองเหนือของไทยมาจนถึงพิษณุโลก โดยการนำของ[[อะแซหวุ่นกี้]]แม่ทัพพม่า ไม่มีฝ่ายไหนแพ้หรือชนะ จึงทำให้[[พระยาจักรี]] [[พระยาสุรสีห์]]ถูกขอดูตัวนั้นเอง
# พ.ศ. 2319 [[พระเจ้ามังระ]]กษัตริย์พม่าสิ้นพระชนม์อะแซหวุ่นกี้ถอยทัพกลับจากพิษณุโลก ส่วนกองทัพพม่าที่ตามไปไม่ทันก็ถูกโจมตีและถูกจับเป็นเชลย แล้วในปีเดียวกันพม่าตีเชียงใหม่ แต่ไม่สำเร็จ และพระเจ้ากรุงธนบุรีมีดำรัสตรัสสั่งให้ราษฎรทางแทบหัวเมืองเหนือและพิษณุโลกให้อพยพไปอยู่หัวเมืองต่างๆ เพราะไม่มีผู้รักษาเมืองแล้ว