ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความดันไอ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SieBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: ro:Presiune de vapori
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
'''ความดันไอ''' (vapor pressure) คือ [[ความดัน]] (ถ้าไอถูกผสมด้วยก๊าซอื่น เรียก [[ความดันย่อย]]) ของ[[ไอ]] (ไอนี้เกิดจากโมเลกุลหรืออะตอมหนีจากของเหลวหรือของแข็ง) ที่อุณหภูมิกำหนดสำหรับสารเฉพาะ มีความดันที่ซึ่งไอของสารนั้นอยู่ในจุด [[สมดุล]] กับสถานะที่เป็น [[ของเหลว]] หรือ [[ของแข็ง]] ของมัน นี่คือ '''ความดันไอสมดุล'''
(equilibrium vapor pressure) หรือ [[ความดันไออิ่มตัว]] (saturation vapor pressure) ของสาร ที่อุณหภูมินั้น คำว่าความดันไอบ่อยครั้งเข้าใจว่าเป็น ''ความดันไออิ่มตัว'' สารที่มีความดันไอสูงที่อุณหภูมิปกติเราเรียกภาวะการณ์นี้ว่า'''''[[ระเหย]]''''' (volatile)
เส้น 10 ⟶ 11:
== ความสัมพันธ์ระหว่างความดันไอของแข็งและของเหลว ==
 
เป็นที่น่าสังเกตุสังเกตว่าความดันไอของสารที่เป็นของเหลวปกติจะมีความแตกต่างจากความดันไอของสารเดียวกันที่อยู่ในสถานะของแข็ง ถ้าอุณหภูมิของความดันไอของของเหลวสูงกว่าของของแข็ง ของเหลวจะระเหยกลายเป็นไอแต่ไอจะควบแน่นเป็นของแข็ง นั่นคือของเหลวถูกทำให้เยือกแข็ง (freezing) ถ้าอุณหภูมิของความดันไอของของเหลวต่ำกว่าของของแข็ง ของแข็งจะระเหยกลายเป็นไอแต่ไอจะควบแน่นเป็นของเหลว นั่นคือของแข็งถูกทำให้'''[[หลอมเหลว]]''' ที่อุณหภูมิที่เท่ากัน
ของสองความดันไอที่ซึ่มีความสมดุลระหว่าง [[สถานะ (สสาร)|สถานะ]] ของเหลวและของแข็ง ที่อุณหภูมินี้จะเป็น[[จุดหลอมเหลว]] (melting point)