ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาวะถ่ายโอนแบบไม่ประสานเวลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JAnDbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: sv:Asynchronous Transfer Mode (it)
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
'''Asynchronous Transfer Mode''' หรือ ชื่อย่อ '''ATM''' เป็นเครือข่ายสื่อสาร ที่ใช้[[โปรโตคอล]]ชื่อเดียวกันคือ ATM เป็นมาตรฐานการส่งข้อมูลความเร็วสูง โดย ATM ถูกพัฒนามาเพื่อให้ใช้กับงานที่มีลักษณะ ข้อมูลหลายรูปแบบและต้องการความเร็วในการส่งข้อมูลสูงมากๆ มีความเร็วในการส่งข้อมูลได้ตั้งแต่ 2 [[Mbps]] ไปจนถึงระดับ [[Gbps]] สื่อที่ใช้ในเครือข่ายมีได้ตั้งแต่[[สายโคแอกเชียล]] [[สายไฟเบอร์ออปติค]] หรือ[[สายไขว้คู่]] (Twisted pair) โดย ATM นั้นถูกพัฒนามาจากเครือข่าย[[แพ็กเก็ตสวิตซ์]] (packet switched) ซึ่งจะแบ่งข้อมูลที่จะส่งออกเป็นหน่วยย่อยๆ เรียกว่า[[แพ็กเก็ต]] (packet) ที่มีขนาดเล็กและคงที่แล้วจึงส่งแต่ละแพ็กเก็ตออกไป แล้วนำมาประกอบรวมกันเป็นข้อมูลเดิมอีกครั้งที่ปลายทาง ข้อดีของ ATM คือสามารถใช้กับข้อมูลได้หลากหลายรูปแบบ เช่น ภาพเคลื่อนไหว, ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือเสียง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความเร็วของข้อมูลสูง และยังมีการรับประกันคุณภาพของการส่ง เนื่องจากมี [[Quality of Service]] (QoS)
 
เส้น 5 ⟶ 6:
ATM เป็นระบบเครือข่ายแบบแพ็กเก็ตสวิตซ์ชนิดพิเศษ เนื่องด้วยกลุ่มข้อมูลที่ส่งแบบแพ็กเก็ตสวิตซ์โดยทั่วไปจะเรียกว่า "แพ็กเก็ต" แต่ ATM จะใช้ "เซลล์" แทน ที่ใช้คำว่าเซลล์เนื่องจาก เซลล์นั้นจะมีขนาดที่เล็กและคงที่ ในขณะที่แพ็กเก็ตมีขนาดไม่คงที่ และใหญ่กว่าเซลล์มาก โดยมาตรฐานแล้วเซลล์จะมีขนาด 53 ไบต์ โดยมีข้อมูล 48 ไบต์ และอีก 5 ไบต์ จะเป็นส่วนหัว (Header) ทำให้สวิตซ์ของ ATM ทำงานได้เร็วกว่าสวิตซ์ของเครือข่ายอื่น ๆ
 
เพื่อหลีกเลี่ยงการสูญเสียข้อมูล ATM สวิตซ์จะใช้เทคนิคการปรับจราจร (Traffic Shapping) เพื่อกำหนดให้แพ็กเก็ตข้อมูลเป็นไปตามข้อกำหนดที่วางไว้ เช่น ในกรณีที่สถานีส่งข้อมูลในอัตราที่สูงเกินกว่าลิงค์ลิงก์จะรองรับได้ ATM สวิตซ์ก็จะทำหน้าที่เป็นบัฟเฟอร์แพ็กเก็ตมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ และส่งต่อในปริมาณที่ลิงค์ลิงก์จะรองรับได้ หรือที่กำหนดไว้เท่านั้น และอีกเทคนิคหนึ่งที่ใช้คือ การกำหนดนโยบายจราจร (Traffic Policing) คือ ถ้ามีเซลล์ข้อมูลที่ส่งเกินกว่าอัตราข้อมูลที่กำหนดไว้ก็จะถูกทำสัญลักษณ์ไว้เพื่อแสดงว่าเซลล์นี้มีลำดับความสำคัญต่ำ(Priority) เมื่อส่งผ่านเซลล์นี้ต่อไปก็อาจจะถูกละทิ้งหรือไม่ก็ได้นั้นขึ้นอยู่กับความคับคั่งของเครือข่าย
 
== พื้นฐานของ ATM ==
เส้น 81 ⟶ 82:
 
 
โปรโตคอลในเลเยอร์นี้จะรับผิดชอบเกี่ยวกับการสร้างการเชื่อมต่อเสมือน หรือ VC(Virtual Connections) แล้วทำการส่งเซลล์ข้อมูลผ่านการเชื่อมต่อ ATM เลเยอร์จะเป็นหนึ่งในชั้นย่อยและทำงานเหมือนโปรโตคอลในชั้นดาต้าลิงค์ลิงก์ของแบบอ้างอิง OSI หน้าที่ของโปรโตคอลในชั้นนี้จะขึ้นอยู่กับประเภทของอุปกรณ์ ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ สถานีรับส่ง (End Station) และสวิตซ์ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
 
- End Station : การทำงานของ ATM เลเยอร์ในคอมพิวเตอร์ที่รับหรือส่งข้อมูลจะทำหน้าที่ คือ สถานีส่งจะต้องทำการส่งสัญญาณให้สถานีรับทราบว่ามีข้อมูลที่ต้องการส่ง และทำการเจรจาเพื่อสร้างวงจรเสมือน (Virtual Circuit) ระหว่างสองสถานี
เส้น 91 ⟶ 92:
 
 
เนื่องจากกลไกการรับส่งข้อมูลของ ATM แตกต่างจากเครือข่าย LAN ประเภทอื่น เช่น Ethernet และ Token Ring ซึ่งเป็นเครือข่ายประเภทหนึ่งที่นิยมมากในปัจจุบัน ดังนั้นแอพพลิเคชันแอปพลิเคชันประเภทนี้จะใช้กับเครือข่าย ATM ไม่ได้ ด้วยเหตุนี้จึงได้มีการพัฒนา ATM ให้สามารถรองรับแอพพลิเคชันแอปพลิเคชันประเภทนี้ได้ โดยการเพิ่มอีกเลเยอร์หนึ่งขึ้นมาเรียกว่า LANE (Local Area Network Emulation) นั่นเอง ข้อแตกต่างระหว่าง ATM และ Ethernet หรือ Token Ring คือ
 
- เครือข่าย ATM จะมีการเชื่อมต่อแบบคอนเน็กชันโอเรียนเต็ดในขณะที่อีเธอร์เน็ตจะมีการเชื่อมต่อแบบคอมเน็กชันเลสส์