ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Looknarm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]] พุทธศักราช 2540''' เป็นกฎหมายสูงสุดว่าด้วยการจัดระเบียบการปกครอง[[ประเทศไทย]]ที่เป็นลายลักษณ์อักษร ฉบับที่ 16 [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]ทรงลงพระปรมาภิไธย เมื่อวันที่ [[11 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2540]] ปัจจุบันรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้สิ้นสุดลงแล้ว ด้วย[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|การรัฐประหาร]] เมื่อวันที่ [[19 กันยายน]] [[พ.ศ. 2549]] [[คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข]] ได้ออกประกาศ [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับชั่วคราว พุทธศักราช 2549]] ทั้งนี้คณะปฏิรูปฯได้ออกประกาศคงบทบัญญัติบางหมวดของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2549 ไว้ภายหลัง
 
รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2540 นี้ถือเป็นรัฐธรรมนูญที่ร่างริเริ่มขึ้นโดยคณะพรรคชาติไทย นายบรรหาร ศิลปอาชานายกรัฐมนตรีได้แต่งตั้งคณะกรรมการปฏิรูปการเมืองเข้ามาดำเนินการและได้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญขึ้นมา และมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ จำนวน 99 คน โดย 76 คนเป็นตัวแทนของแต่ละจังหวัด และอีก 23 คนมาจากผู้เชี่ยวชาญหรือผู้มีประสบการณ์ ซึ่งถือว่าเป็นรัฐธรรมนูญที่มาจากการเลือกตั้งฉบับเดียวของประเทศไทย โดยก่อนหน้านี้ 15 ฉบับมาจากคณะรัฐมนตรีที่มาจากการแต่งตั้งหรือ[[รัฐบาลทหาร]]
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 15:
กฎหมายอื่นซึ่งสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญได้ และโดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 6) พุทธศักราช 2539 ได้บัญญัติให้มี'''[[สภาร่างรัฐธรรมนูญ]]'''ขึ้น ประกอบด้วยสมาชิก
ที่ได้รับเลือกตั้งจากรัฐสภาจำนวนเก้าสิบเก้าคน มีหน้าที่จัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ทั้ง
ฉบับเพื่อเป็นพื้นฐานสำคัญในการปฏิรูปการเมือง และได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า
บรรทัด 26:
แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 6) พุทธศักราช 2539 แล้ว ทุกประการ
 
การร่างรัฐธรรมนูญครั้งนี้ ประสบอุปสรรคมีการเคลื่อนไหว เพื่อคว่ำรัฐธรรมนูญทั้งภายในและภายนอกสภา โดยการเคลื่อนไหวภายนอกสภานั้น กลุ่มที่ออกมาคัดค้าน เช่น กลุ่มกำนันผู้ใหญ่บ้าน และได้มีองค์กรการเมืองภาคประชาชนออกมาสนับสนุน เช่น คณะกรรมการรณรงค์ประชาธิปไตย ([[ครป.]])เครือข่ายผู้หญิงกับรัฐธรรมนูญ สมาคมคนพิการแห่งประเทศไทย ฯลฯ พรรคการเมืองซึ่งเป็นรัฐบาลในขณะนั้น ได้แก่ [[พรรคความหวังใหม่]] แสดงท่าทีไม่สนับสนุนร่างรัฐธรรมนูญ รวมทั้งได้นำมวลชนจัดตั้งเข้ามาคัดค้าน ทำให้เกิดการเผชิญหน้าระหว่างฝ่ายสนับสนุน ที่ใช้ "สีเขียว" เป็นสัญลักษณ์ กับฝ่ายต่อต้าน ที่ใช้ "สีเหลือง" เป็นสัญลักษณ์
 
เมื่อรัฐสภาได้พิจารณาร่างรัฐธรรมนูญที่สภาร่างรัฐธรรมนูญจัดทำขึ้น
เส้น 124 ⟶ 126:
{{วิกิซอร์ซ|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540}}
* [http://www.parliament.go.th/files/library/t-b05.htm บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ]
* ดร. วรพิทย์ มีมาก. การวิจัยเชิงประเมินรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
 
[[หมวดหมู่:นิติศาสตร์]]