ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซี. เอส. ลิวอิส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 30:
 
นอกจากเรื่องชุด[[นาร์เนีย]]แล้ว ลิวอิสเขียนหนังสือเกี่ยวกับหลักความเชื่อทางศาสนา ผลงานวิชาการ และบทกวีหลายเล่ม เช่น The Pilgrim's Regress (1933) The Allegory of Love (1936) Out of the Silent Planet (1938)
 
สิ่งที่น่าสนใจอย่างยิ่งคือ ซี. เอส. ลูว์อิส ผู้แต่งนิยายชุดนาร์เนีย และ เจ. อาร์. อาร์ โทลคีน ผู้แต่ง ลอร์ด ออฟ เดอะ ริงส์ ถึงแม้จะเป็นเพื่อนอาจารย์สอนหนังสือด้วยกันที่มหาวิทยาลัยอ๊อกฟอร์ด สูบไปป์ ดื่มกินในผับเดียวกัน โดยก่อตั้งชมรมนักเขียน อิงคลิงส์เป็นศูนย์กลางที่ร้าน ดิ อีเกิ้ล แอนด์ ไชล์ด
 
หลงใหลในวรรณกรรมคลาสสิกที่เขียนหลังปี ค.ศ. 1,100 ชื่นชอบงานเขียนในแนวเทพนิยายของชนชาวนอร์ส และ ชาวเยอรมัน เกลียดชังวรรณกรรมสมัยใหม่ของ ดิกเก้นส์ จอยซ์ บทกวีของ ที.เอส. เอเลียต ตลอดจนนวนิยายของ ฟิตซ์เจอรัลด์ หรือ เฮมิงเวย์ ด้วย เป็นคริสเตียนผู้เคร่งครัด เขียนหนังสือซึ่งกลายมาเป็นนิยายคลาสสิกแต่ต่างฝ่ายก็เกลียดโลกแฟนตาซี(แนวจินตนาการเหนือจริง)ของกันและกัน
 
บ้างก็อ้างว่า ลูว์อิสลอกเลียนงานเขียนของโทลคีน และแสร้งศรัทธาในพระเจ้า งานเขียนของลูว์อิสค่อนข้างฉาบฉวย-มีจุดบกพร่อง ใช้สำนวนภาษาทันสมัย-อ่านง่าย เดินเรื่องกระชับฉับไว ส่วนโทลคีนจะละเอียดรอบคอบ ใช้เวลาเนิ่นนานประดิษฐ์ประดอย(ภาษาเฉพาะ)ถักทอเรื่องราว ใช้สำนวนภาษาแบบโบราณ เข้มขลัง ค่อนข้างอ่านยาก จักรวาลของโทลคีนอยู่ใน มิดเดิ้ล เอิร์ธ,มิติพิศวง ยากที่จะระบุที่ตั้งอาณาจักร-ห้วงเวลา เมื่อเปรียบเทียบกับโลกมนุษย์แต่ของลูว์อิสอยู่ถัดจากบานประตูเข้าไปแค่นี้เอง
 
บ้างก็อ้างว่า ลูว์อิสลอกเลียนงานเขียนของโทลคีน และแสร้งศรัทธาในพระเจ้า งานเขียนของลูว์อิสค่อนข้างฉาบฉวย-มีจุดบกพร่อง ใช้สำนวนภาษาทันสมัย-อ่านง่าย เดินเรื่องกระชับฉับไว ส่วนโทลคีนจะละเอียดรอบคอบ ใช้เวลาเนิ่นนานประดิษฐ์ประดอย(ภาษาเฉพาะ)ถักทอเรื่องราว ใช้สำนวนภาษาแบบโบราณ เข้มขลัง ค่อนข้างอ่านยาก จักรวาลของโทลคีนอยู่ใน มิดเดิ้ล เอิร์ธ,มิติพิศวง ยากที่จะระบุที่ตั้งอาณาจักร-ห้วงเวลา เมื่อเปรียบเทียบกับโลกมนุษย์แต่ของลูว์อิสอยู่ถัดจากบานประตูเข้าไปแค่นี้เอง
 
นิยายชุดนาร์เนียของลูว์อิสมีทั้งหมด 7 เล่ม เมื่อตีพิมพ์ตอนแรก เดอะ ไลอ้อน เดอะ วิชต์ แอนด์ เดอะ วาร์ดโรป (อภินิหารตำนานแห่งนาร์เนีย ตอน ราชสีห์ แม่มด กับ ตู้พิศวง) ในปี ค.ศ. 1950 ก็ได้รับความนิยมอย่างมาก หากภาพยนตร์มหันตภัยแห่งแหวนคือเรื่องราวสำหรับผู้ใหญ่แล้ว นาร์เนียคงเป็นเรื่องราวสนุกสนานสำหรับเด็กอย่างแน่นอน โดยผสมผสานคติทางศาสนาคริสต์ได้ลงตัวสุดแยบยล ต่างจากนิทานชาดกซึ่งมักจะสรุปทุกสิ่งยัดเยียดต่อผู้อ่านและผู้ชมอย่างโจ่งแจ้ง
 
การสื่อสารเชิงสัญลักษณ์คล้ายใน พ่อมดแห่งออซ โดยแสดงออกถึงความไร้เดียงสาของเด็กซึ่งถูกผู้ใหญ่ทอดทิ้ง ต้องการหลีกหนีโลกแห่งความจริงอันโหดร้ายไปผจญภัยในดินแดนแห่งจินตนาการ และสื่อสารให้เห็น '''ความดี-ความชั่ว''' ผ่านตัวละคร,สรรพสัตว์ สุดท้ายพวกเด็กๆก็จะสับสนกับการตัดสินใจกลับสู่โลกปัจจุบันอันน่าเบื่อหน่าย หรือจะอยู่ต่อในดินแดนมหัศจรรย์ที่พวกเขากลายเป็นวีรบุรุษ
 
== ข้อมูลเพิ่มเติม ==