ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลุมดำมวลยวดยิ่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TXiKiBoT (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ca, cs, eo, es, fr, he, hu, it, ko, nah, no, pl, sk, sl, sv, zh
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่อ้างอิง (นำจากวิกิอังกฤษ) ฝากตรวจสอบด้วยครับ
บรรทัด 1:
[[ภาพ:Rxj1242 comp.jpg|thumb|250px|''ภาพบน'': ภาพร่างแสดงเหตุการณ์ที่หลุมดำมวลยิ่งยวดฉีก[[ดาวฤกษ์]]ออกป็นเสี่ยง ''ภาพล่าง'': การคาดคะเนเหตุการณ์ที่หลุมดำมวลยิ่งยวดดูดกลืนดาวฤกษ์ในดาราจักร RXJ 1242-11 ''ด้านซ้าย'' คือภาพถ่ายรังสีเอ็กซ์เอกซ์ ''ด้านขวา'' คือภาพถ่ายจากแสง]]
 
'''หลุมดำมวลยิ่งยวด''' (Supermassive Black Hole: SMBH) คือ[[หลุมดำ]]ที่มีมวลขนาดใหญ่ในระดับ 10{{e|5}} ถึง 10{{e|10}} เท่าของมวล[[ดวงอาทิตย์]] [[ดาราจักร]]ส่วนใหญ่รวมทั้ง[[ทางช้างเผือก]] (แต่ไม่ใช่ทุกดาราจักร) มักมีหลุมดำมวลยิ่งยวดอยู่ที่บริเวณศูนย์กลาง
บรรทัด 8:
 
* แรงดึงดูดแบบ tidal ในอาณาเขตของ[[ขอบฟ้าเหตุการณ์]]จะอ่อนแรงมากอย่างมีนัยสำคัญ เนื่องจาก[[ภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วง|ซิงกูลาริตี้ที่ศูนย์กลาง]]อยู่ห่างจากขอบมาก หากมีนักท่องอวกาศเดินทางผ่านเข้าไปในใจกลางหลุมดำแล้วก็จะไม่สามารถรู้สึกถึงแรงดึงดูดแบบ tidal ได้เลยจนกว่าจะล่วงลึกเข้าไปภายในหลุมดำแล้ว
 
== อ้างอิง ==
* Julian H. Krolik (1999). Active Galactic Nuclei. Princeton University Press. ISBN 0-691-01151-6.
 
== ดูเพิ่ม ==