ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ลบการโฆษณาโดย คุณ Nantadej
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล พุทธศาสนสถาน
| full_name = วัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร
| common_name = พระพุทธบาทสระบุรี
| image_temple = วัดพระพุทธบาท.jpg
| short_describtion = มณฑปวัด
| type_of_place = พระอารามหลวงชั้นเอกพิเศษ ชนิดราชวรมหาวิหาร
| branch = [[เถรวาท]] [[มหานิกาย]]
| special_things = สถานที่ประดิษฐานพระพุทธบาท
| principal_buddha =
| important_buddha =
| pre_road =
| road_name =
| sub_district =
| district = อำเภอพระพุทธบาท
| province = จังหวัดสระบุรี
| zip_code =
| tel_no =
| pass_buses =
| pass_boats =
| pass_rails =
| open_time =
| entrance_fee =
| shouldnt_miss =
| activities =
| local_tourguide =
| foods_beverages =
| do_not_do =
| photography =
| car_parks =
| local_attraction =
| footnote =
}}
 
บรรทัด 37:
 
ลักษณะของพระมณฑป เป็นอาคารรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ประกอบเครื่องยอดรูปปราสาท 7 ชั้น มุงกระเบื้องเคลือบสีเขียว มีซุ้มบันแถลงประดับทุกชั้น มีเสาย่อมุมไม้สิบสอง ปิดทองประดับกระจกโดยรอบ ฝาผนังด้านนอกปิดทองประดับกระจกเป็นรูปเทพพนม มีพุ่มข้าวบิณฑ์ บานประตูพระมณฑปเป็นงานศิลปกรรมประดับมุกชั้นเยี่ยมของเมืองไทย พื้นภายในปูด้วยเสื่อเงินสาน ทางขึ้นพระมณฑปเป็นบันไดนาคสามสาย ซึ่งหมายถึง บันไดเงิน บันไดทอง และบันไดแก้ว ที่ทอดลงจากสวรรค์ หัวนาคที่เชิงบันไดหล่อด้วยทองสำริด เป็นนาค 5 เศียร บริเวณรอบมณฑปมีระฆังแขวนเรียงราย เพื่อให้ผู้ที่มานมัสการได้ตีเป็นการแผ่ส่วนกุศลแก่เพื่อนมนุษย์ทั้งหลาย พระอุโบสถ และพระวิหารต่าง ๆ ที่อยู่รายรอบ ล้วนสร้างตามแบบศิลปกรรมสมัยกรุงศรีอยุธยา และตอนต้นกรุงรัตนโกสินทร์
 
== ความสำคัญ==
มวลสารวัตถุจาก[[โบราณสถาน]] และ[[โบราณวัตถุ]]ในที่นี้ [[รัชกาลที่ 9]] ได้นำมาเป็นส่วนประกอบในการทำ[[พระสมเด็จจิตรลดา]]<ref>{{อ้างหนังสือ/พระสมเด็จจิตรลดา-นันทเดช}}</ref>
 
== การเดินทาง ==
เส้น 47 ⟶ 44:
<references />
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[นิราศพระบาท]]
* [[โคลงนิราศพระพุทธบาท]]
* [[ปุณโณวาทคำฉันท์]]
* [http://www.watphrabuddhabat.com/ เว็บไซต์วัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร]
 
{{พระอารามหลวงชั้นเอก}}