ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระวัชรปาณีโพธิสัตว์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PipepBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: ta:வஜ்ரபானி
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ภาพ:VajrapaniAndMonks.jpg|thumb|พระวัชรปาณีกับพระสงฆ์ [[ศิลปคันธาระ]]]]
 
'''พระวัชรปาณีโพธิสัตว์'''หมายถึง[[พระโพธิสัตว์]]ผู้ถือสายฟ้า หลักฐานฝ่ายบาลีถือว่าเป็นยักษ์ที่คอยคุ้มครอง[[พระพุทธเจ้า]] ส่วนทาง[[มหายาน]]ถือว่าเป็นพระโพธิสัตว์ชั้นสูงองค์หนึ่ง มักปรากฏคู่กับ[[พระมัญชุศรีโพธิสัตว์]]และ[[พระปัทมปาณิโพธิสัตว์]]
'''พระวัชรปาณีโพธิสัตว์'''หมายถึง[[พระโพธิสัตว์]]ผู้ถือสายฟ้า ชื่อในภาษาสันสกฤตคือ''Vajrapāṇinā bodhisattvena mahāsattvena, vajra-sattva'' ในภาษาทิเบตคือ ''Lag na Rdo rje'' (''Chana Dorji'') ในภาษามองโกเลียคือ ''Очирваань'' (''Ochirvaani'')และ ''Базарваань'' (''Bazarvaani'') ในเอเชียตะวันออกมีหลายพระนาม ได้แก่ 金剛手菩薩 ([[ภาษาจีนกลาง]]: ''Jīngāng shǒu púsà''; [[ภาษาญี่ปุ่น]]: ''Kongō shu bosatsu''; [[ภาษาเกาหลี ]]금강수보살 ''Geumgang su bosal''; [[ภาษาเวียดนาม]]: ''Kim cương thủ bồ tát'') 和夷羅洹閱叉 (ภาษาจีนกลาง: ''Héyíluóhuányuèchā''; ภาษาญี่ปุ่น: ''Wairaoneisa''; ภาษาเกาหลี: 화이라원열차 ''Hwairawonyeolcha''; ภาษาเวียดนาม: ''Hoà di la hoàn duyệt xoa''), หรือ 跋闍羅波膩 (ภาษาจีนกลาง: ''Báshéluóbōnì''; ภาษาญี่ปุ่น: ''Bajarahaji''; ภาษาเกาหลี: 발사라파니 ''Balsarapani''; ภาษาเวียดนาม: ''Bạt xà la ba nị'').<ref>From the [http://www.buddhism-dict.net/ddb/ Digital Dictionary of Buddhism]</ref>
หลักฐานฝ่ายบาลีถือว่าเป็นยักษ์ที่คอยคุ้มครอง[[พระพุทธเจ้า]] ส่วนทาง[[มหายาน]]ถือว่าเป็นพระโพธิสัตว์ชั้นสูงองค์หนึ่ง มักปรากฏคู่กับ[[พระมัญชุศรีโพธิสัตว์]]และ[[พระปัทมปาณิโพธิสัตว์]]
[[ภาพ:Buddha-Vajrapani-Herakles.JPG|thumb|left|175px|พระวัชรปาณี (ขวา) ในฐานะผู้คุ้มกันพระพุทธเจ้า (ซ้าย) ศิลปคันธาระราวพุทะศตวรรษที่ 7 ที่พิพิธภัณฑ์อังกฤษ]]
 
ความเชื่อเกี่ยวกับพระวัชรปาณิอาจวิวัฒนาการมาจาก[[พระอินทร์]]ใน[[ศาสนาพราหมณ์]]ที่ถือสายฟ้าเช่นกัน และอาจจะพัฒนามาจากความเชื่อเกี่ยวกับ[[พระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์]] ชาวพุทธมหายานถือว่าท่านเป็นพระโพธิสัตว์ที่คุ้มครอง[[นาค]]ที่ควบคุมเมฆฝน และนิยมสร้างรูปของท่านไว้ที่ประตูทางเข้าวัดเพื่อขับไล่ความชั่วร้าย
 
พระวัชรปาณีมีชื่อจีนว่ากิมกังผ่อสัก จัดอยู่ในกลุ่มเจ็ดพระมหาโพธิสัตว์ตามความเชื่อของชาวจีน แต่มีความสำคัญน้อยกว่า[[พระอวโลกิเตศวร]]และ[[พระกษิติครรภ์โพธิสัตว์]]มาก
 
[[ภาพ:Mahatshakra-Vadzrapani.jpg|thumb|มหาจักกรวัชรปาณี]]
== ชื่อในภาษาต่างๆ ==
[[ภาพ:Buddha-Vajrapani-Herakles.JPG|thumb|leftright|175px|พระวัชรปาณี (ขวา) ในฐานะผู้คุ้มกันพระพุทธเจ้า (ซ้าย) ศิลปคันธาระราวพุทะศตวรรษที่ 7 ที่พิพิธภัณฑ์อังกฤษ]]
* [[ภาษาสันสกฤต]]คือ''Vajrapāṇinā bodhisattvena mahāsattvena, vajra-sattva''
* [[ภาษาทิเบต]]คือ ''Lag na Rdo rje'' (''Chana Dorji'')
* [[ภาษามองโกเลีย]]คือ ''Очирваань'' (''Ochirvaani'')และ ''Базарваань'' (''Bazarvaani'')
* [[ภาษาจีนกลาง]] 金剛手菩薩 (: ''Jīngāng shǒu púsà''); 和夷羅洹閱叉 (''Héyíluóhuányuèchā'') หรือ 跋闍羅波膩 (''Báshéluóbōnì'')
* [[ภาษาญี่ปุ่น]]: ''Kongō shu bosatsu'';''Bajarahaji''หรือ ''Wairaoneisa''
* [[ภาษาเกาหลี ]]금강수보살 ''Geumgang su bosal'' ;''Hoà di la hoàn duyệt xoa''; 발사라파니 ''Balsarapani''หรือ화이라원열차 ''Hwairawonyeolcha''
* [[ภาษาเวียดนาม]]: ''Kim cương thủ bồ tát''หรือ ''Bạt xà la ba nị''<ref>From the [http://www.buddhism-dict.net/ddb/ Digital Dictionary of Buddhism]</ref>
 
 
== รูปแบบต่างๆของพระวัชรปาณี ==
[[ภาพ:Mahatshakra-Vadzrapani.jpg|thumb|มหาจักกรวัชรปาณี]]
* '''อาจารยวัชรปาณี''' มือขวาถือวัชระ มือซ้ายถือบ่วง ทรงเครื่องแบบธรรมบาล ล้อมรอบด้วยเปลวไฟ ยืนทิ้งน้ำหนักที่ขาขวา
* '''นีลามพรวัชรปาณี''' มือขวาถือวัชระ มือซ้ายถือกระดิ่งในระดับตัก ทรงเครื่องแบบธรรมบาล ยืนทิ้งน้ำหนักที่ขาขวาบนร่างมนุษย์
* '''จัณฑวัชรปาณี''' มือขวาถือวัชระ มือซ้ายทำปางกรณะ ยืนทิ้งน้ำหนักที่เท้าขวา
* '''ภูตฑามรวัชรปาณี''' มีเศียรเดียว 4 กร สองกรหน้าทำปางภูตฑามรมุทรา สองกรหลังถือวัชระ มือซ้ายทำปางดรรชนีมุทรา สวมมงกุฏทำด้วยกะโหลกมนุษย์ ยืนทิ้งน้ำหนักบนเท้าขวาบนร่างของงู
* '''มหาจักรวัชรปาณี''' มีสามเศียร หกหรือแปดกร ถือวัชระและงู ทรงเครื่องแบบธรรมบาล
* '''อจลวัชรปาณี''' มีสี่เศียรสี่กร สี่เท้า ถือถ้วยกะโหลก วัชระและบ่วง ทรงเครื่องแบบธรรมบาล ล้อมรอบด้วยเปลวไฟ ยืนเหยียบบนร่างอสูร<ref>ผาสุข อินทราวุธ. พุทธปฏิมาฝ่ายมหายาน. กทม. โรงพิมพ์อักษรสมัย. 2543. หน้า 123 - 124</ref>
== อ้างอิง ==
* สุมาลี มหณรงค์ชัย. พระชินพุทธะทั้งห้า. กทม. ศูนย์ไทยธิเบต. 2545