ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปราสาทบายน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Liger (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Liger (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ภาพ:Bayon26.jpg|thumb|หอสูง รูปหน้าบริเวณศูนย์กลางของปราสาทหินบายน]]
[[ภาพ:Bayon77.jpg|thumb|หอใจกลางปราสาทบายนที่มีจำนวนหน้ามากกว่าบริเวณอื่น]]
'''ปราสาทบายน''' เป็น[[ปราสาทหิน]]ของ[[อาณาจักรเขมร]] อยู่ในบริเวณของใจกลาง[[นครธม]] สร้างขึ้นเป็นวัดประจำสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7-8 ก่อสร้างในราวปี [[พ.ศ. 17431724]]-[[พ.ศ.1763]]<ref>http://mayaknight07.exteen.com/20080105/entry</ref> ในช่วงราวหลังจากที่[[พระเจ้าชัยวรมันที่ 27ได้]]ชัยชนะจากการขับไล่กองทัพ[[อาณาจักรจามปา]] ศตวรรษ นับเป็น[[ศาสนสถาน]]ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก มีความซับซ้อนทั้งในแง่โครงสร้างและความหมาย เนื่องจากผ่านความเปลี่ยนแปลงด้านศาสนาและความเชื่อมาตั้งแต่คราวนับถือ[[เทพเจ้าฮินดู]] และ[[พุทธศาสนา]] อาคารมีลักษณะพิเศษ เนื่องจากส่วนของหอเป็นรูปหน้าหันสี่ทิศ จำนวน 49 หอ ปัจจุบันคงเหลือเพียง 37 หอ ลักษณะโดยทั่วไปจะมี 4 หน้า 4 ทิศ แต่บางหออาจมี 3 หรือ 2 แต่บริเวณศูนย์กลางของกลุ่มอาคาร จะมีหลายหน้า ซึ่งนักท่องเที่ยวมักจะพยายามนับว่ามีกี่หน้า
 
ลักษณทาง[[สถาปัตยกรรม]]ของบายนก็เช่นเดียวกับเรื่องความเชื่อ เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงมาในหลายๆ สมัย กษัตริย์ในยุคหลังๆ พบว่าเป็นการง่ายกว่าที่จะปรับปรุงวัดแห่งนี้ แทนที่จะรื้อสร้างใหม่เช่นที่ทำกัน และใช้เป็นวัดประจำสมัยต่อเนื่องกันมา
บรรทัด 10:
สัณฐานของกลุ่มอาคารประกอบด้วย[[ระเบียงคต]] (gallery) ล้อมรอบอยู่ 2 ชั้น เรียกว่าชั้นในและชั้นนอก ชั้นนอกจะสร้างก่อนชั้นใน ระเบียงจะมีเสาหินเรียงรายสองข้าง และมักมีรูปสลักนูนต่ำของนาง[[อัปสร]]อยู่ รวมทั้งรูปสลักภาพประวัติความเป็นมาและสังคมในสมัยนั้น เช่น การรบระหว่างขอมกับจาม เป็นต้นระเบียงชั้นนอกจะเข้าถึงที่ตั้งของ[[บรรณาลัย]] หรือหอหนังสือ (Library) 2 จุด คือหอเหนือ และหอใต้ ส่วนระเบียงชั้นในซึ่งสร้างในยุคหลัง จะเห็นการเปลี่ยนแปลงรูปสลักจากรูปชีวิตประจำวัน เป็นรูปสลักทางศาสนามากขึ้น
 
รอบ ปราสาทบายนที่นที่[[เสียมเรียบ]]จะปรากฏภาพโดยเฉพาะภาพแกะสลักอายุนับพันปีเหล่านั้น รอบปราสาทบายนจะเห็นภาพของ "การประดั่ญ" เรียกเป็นภาษาไทยว่า ภาพการต่อสู้ อยู่บนกำแพงปราสาทบายน "มวย" เป็นศาสตร์อันยิ่งใหญ่ มรดกของขอมแห่งสุวรรณภูมิ ขอม เป็นคนละชนชาติกันกับ ขะแมร์ หรือกัมพูชาในทุกวันนี้มวยนี่มันมีมานานตั้งแต่สมัยขอมเรืองอำนาจคำว่า มวย เอง เป็น ภาษาขะแมร์ แปลว่า "หนึ่ง"ทั้งหมดนี้ไทยรับคำมาจากขะแมร์เพราะอิทธิพลความรุ่งเรืองของขะแมร์ที่รับมาจากขอม มาจากคำว่า "เนี๊ยะประดั่ญเลขมูย" อันมีความหมายว่านักสู้อันดับหนึ่ง และเรียกกันสั้น ๆ ว่า"เนี๊ยะมูย" และคนไทนำมาเรียกสั้น ๆ ว่า "นักมวย"
 
== อ้างอิง ==
<references />
 
{{commonscat|Bayon|ปราสาทบายน}}