ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดพิชยญาติการามวรวิหาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 10310366 โดย Dharmadana (พูดคุย) ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.9.3
บรรทัด 39:
[[ไฟล์:Pra Sitharod.jpg|300px|thumb|"พระสิทธารถ" หรือ "หลวงพ่อสมปรารถนา" ภายในพระอุโบสถ วัดพิชัยญาติการามวรวิหาร]]
[[ไฟล์:WatPhichaiyartPutthaBat030624.jpg|300px|thumb|upright|รอยพระบาท 4 พระองค์]]
'''วัดพิชัยญาติการาม''' หรือ '''วัดพิชัยญาติ''' เป็น[[พระอารามหลวง]]ชั้นโท ชนิด'''วรวิหาร'''<ref>[[ราชกิจจานุเบกษา]], [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2458/A/284.PDF ประกาศกระทรวงธรรมการ แผนกกรมสังฆการี เรื่อง จัดระเบียบพระอารามหลวง] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20111109221110/http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2458/A/284.PDF |date=2011-11-09 }}, เล่ม ๓๒, ตอน ๐ ก, ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๘, หน้า ๒๙๑</ref> สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่เชิง[[สะพานพุทธ]] บริเวณที่เดิมเรียกว่าวงเวียนเล็ก ใน[[แขวงสมเด็จเจ้าพระยา]] [[เขตคลองสาน]] ตั้งอยู่ริมคลองบ้านสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน เดิมเป็นวัดร้าง แต่[[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทัต บุนนาค)]] ครั้งมีบรรดาศักดิ์เป็นพระยาศรีพิพัฒน์ราชโกษา ได้ปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ประมาณ พ.ศ. 2372 - 2375 ในรัชกาลที่ 3 เนื่องจากสมเด็จเจ้าพระยาองค์น้อยขณะนั้นเป็นจางวางพระคลังสินค้า มีเรือสำเภาค้าขายกับจีน จึงได้นำอับเฉาเรือ กระเบื้องสี และหินมาจากจีน สถาปัตยกรรมวัดนี้มีลักษณะแบบไทยผสมจีน ซึ่งเป็น[[สถาปัตยกรรมแบบพระราชนิยมในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว|แบบพระราชนิยม]]ในสมัยนั้น เมื่อบูรณะวัดเสร็จแล้ว ได้น้อมเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 พระราชทานนามว่า "วัดพระยาญาติการาม" ต่อมา[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เปลี่ยนชื่อวัดใหม่เป็น "วัดพิชยญาติการาม" หรือที่คนทั่วไปเรียกกันว่า "วัดพิชัยญาติ"
 
== ปูชนียวัตถุและถาวรวัตถุที่สำคัญของวัด ==