ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nattasorn2001 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19:
}}
 
'''บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน)''' เป็นบริษัทสื่อบันเทิงที่ใหญ่ที่สุดใน[[ประเทศไทย]]<ref>{{Cite web |url=http://www.gmmgrammy.com/th/vtr-grammy.htm |title=ข้อมูลบริษัท |access-date=2012-10-14 |archive-date=2012-09-23 |archive-url=https://web.archive.org/web/20120923230102/http://www.gmmgrammy.com/th/vtr-grammy.htm |url-status=dead }}</ref><ref>{{cite news |author1=Jason Tan |title='Thai wave' in showbiz poised for big splash in China |url=https://asia.nikkei.com/Business/Business-trends/Thai-wave-showbiz-faces-golden-opportunity-to-court-Chinese-market |access-date=27 April 2020 |publisher=[[The Nikkei|Nikkei Asian Review]] |quote="GMM Grammy – the largest media conglomerate on the Stock Exchange of Thailand" |date=27 March 2018}}</ref><ref>{{cite news |author1=Nanat Suchiva |title=Mr Expo reflects on the big event |url=https://www.bangkokpost.com/business/1291927/mr-expo-reflects-on-the-big-event |access-date=27 April 2020 |publisher=[[Bangkok Post]] |date=22 July 2017 |quote=Soon after, Mr Kriengkrai agreed to sell a 50% stake in Index to GMM Grammy Plc, Thailand's largest entertainment company.}}</ref><ref>{{cite news |author1=Sarah Newell |title=This Thailand Tycoon's Private Palace Is a Pool-Filled Oasis |url=https://www.bloomberg.com/news/articles/2016-03-24/thailand-tycoon-s-private-palace-is-an-pool-filled-oasis |access-date=27 April 2020 |publisher=[[Bloomberg News]] |date=24 March 2016 |quote=Paiboon, the 66-year-old chairman of GMM Grammy, Thailand’s largest media company...}}</ref> ก่อตั้งโดย [[ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม]] และ[[เรวัต พุทธินันทน์]] เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526 ศิลปินชั้นนำของแกรมมี่ ได้แก่ [[ธงไชย แมคอินไตย์|เบิร์ด ธงไชย]], [[ บอดี้สแลม]], [[โลโซ]], [[อรทัย ดาบคำ|ต่าย อรทัย]], [[สุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว|บี้ สุกฤษฎิ์]], [[โปเตโต้]], [[ทาทา ยัง]], [[ปฏิภาณ ปฐวีกานต์|มอส ปฏิภาณ]], [[เก็ตสึโนวา]], [[โจอี้ บอย]] , [[นิว จิ๋ว]] , เป็นต้น นอกจากธุรกิจเพลงแล้ว บริษัทยังมีส่วนร่วมในการจัดคอนเสิร์ต การจัดการศิลปิน การผลิตภาพยนตร์และรายการโทรทัศน์ ละครและซีรีส์
 
[[ไฟล์:Buildinggmm.jpg|thumb|อาคารจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่เพลส (ตึกแกรมมี่) ย่านสุขุมวิท 21 ([[ถนนอโศกมนตรี]])]]
จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ทำธุรกิจทางด้านดนตรี สื่อ ภาพยนตร์ สถานีโทรทัศน์ สถานีวิทยุ สื่อสิ่งพิมพ์ และ อีเวนต์เมเนจเม้นท์ เป็นต้น โดยระยะแรกดำเนินธุรกิจหลักสร้างสรรค์ผลงาน เพลงไทยสากล โดยออกอัลบั้มชุดแรก นิยายรักจากก้อนเมฆ โดย [[พันทิวา สินรัชตานันท์|แพทย์หญิงพันทิวา สินรัชตานันท์]] และผลิตรายการทีวี 3 รายการ ได้แก่ ยิ้มใส่ไข่, มันกว่าแห้ว และ เสียงติดดาว จากนั้นจึงเริ่มขยายกิจการไปสู่ธุรกิจผลิต[[รายการโทรทัศน์]]และรายการวิทยุ บริษัทได้ขยายการดำเนินธุรกิจเข้าสู่ธุรกิจบันเทิงอื่น ๆ เช่น วิทยุ, ภาพยนตร์, การจัดคอนเสิร์ต, การศึกษา, สื่อสิ่งพิมพ์ รวมทั้งธุรกิจร้านค้าปลีกเพื่อจัดจำหน่ายสินค้าต่าง ๆ ของบริษัทในเครือ เช่น เทป และซีดีเพลง การขยายธุรกิจดังกล่าวส่งให้บริษัทดำเนินธุรกิจอย่างครบวงจร และเป็นผู้นำในอุตสาหกรรมบันเทิงไทยในปี พ.ศ. 2544 ข้อมูลเมื่อ เมษายน พ.ศ. 2559 จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์เพลง 35,339 เพลง <ref>[https://www.ipthailand.go.th/images/A/190459_copy.pdf ผู้นำในอุตสาหกรรมบันเทิงไทยในปี พ.ศ. 2544]{{ลิงก์เสีย|date=สิงหาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref>
 
ปัจจุบัน บริษัท ฟ้า ดำรงชัยธรรม จำกัด เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ในสัดส่วนร้อยละ 52.05%<ref>[https://www.settrade.com/th/equities/quote/grammy/company-profile/major-shareholders ข้อมูลผู้ถือหุ้น บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน)], [http://www.settrade.com เซ็ตเทรด.คอม]</ref> โดยเป็นการปรับโครงสร้างของกลุ่มดำรงชัยธรรม เนื่องจากตัวไพบูลย์มีอายุมาก และต้องการจัดสรรทรัพย์สินส่วนตนให้เป็นกองกลางของครอบครัว รวมถึงตั้งธรรมนูญครอบครัวเพื่อแบ่งหน้าที่การบริหารของสมาชิกครอบครัวดำรงชัยธรรมในจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ อย่างชัดเจน ทั้งนี้ไพบูลย์ยังคงมีเสียงส่วนใหญ่ใน บจ.ฟ้า ดำรงชัยธรรม ด้วยสัดส่วนการถือหุ้น 99% ส่วนอีก 1% ไพบูลย์ให้บุตรธิดาทั้ง 4 คนถือเท่ากันที่คนละ 0.25%<ref>{{Cite web|date=2021-10-18|title=‘อากู๋ ไพบูลย์’ แจงโยนบิ๊กล็อต 52% หวังปรับโครงสร้างถือหุ้นมอบเป็นมรดกให้ลูก พร้อมตั้งธรรมนูญครอบครัว แบ่งหน้าที่บริหารงานชัด|url=https://thestandard.co/grammy-stock-181064/|url-status=live|access-date=2022-08-14|website=[[เดอะสแตนดาร์ด]]|language=th}}</ref>
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 87:
ต่อมาในปี พ.ศ. 2564 จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ได้ร่วมมือกับ[[วายจีเอนเตอร์เทนเมนต์]] ก่อตั้ง[[วายจีเอ็มเอ็ม]] (YG”MM) เพื่อพัฒนาศิลปินไทยให้เป็นศิลปินมืออาชีพระดับโลก และยกระดับคุณภาพของอุตสาหกรรมเพลงไทย<ref>[https://brandinside.asia/ygmm-joint-venture-gmm-and-yg/ YG”MM บริษัทใหม่ภายใต้ความร่วมมือ GMM Grammy+YG Entertainment บุกตลาดโลก]</ref>
 
จากนั้นในปี พ.ศ. 2566 จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ได้จับมือกับ[[อาร์เอส|อาร์เอสกรุ๊ป]] ค่ายเพลงชื่อดังของไทยอีกเจ้ารายหนึ่ง ซึ่งเป็นคู่แข่งสำคัญ จดทะเบียนจัดตั้งกิจการร่วมค้า (Joint Venture) ภายใต้ชื่อ [[อะครอส เดอะยูนิเวิร์ส (กิจการร่วมค้า)|อะครอสเดอะยูนิเวิร์ส]] (Across The Universe) และดำเนินการจัดคอนเสิร์ตร่วมระหว่างศิลปินทั้ง 2 ค่าย ในชื่อ [[แกรมมี่ อาร์เอส คอนเสิร์ตส]]<ref>[https://www.bangkokbiznews.com/business/business/1059004 “GRAMMY x RS” ร่วมทุนตั้งกิจการร่วมค้า “อะครอส เดอะ ยูนิเวิร์ส” ลุยธุรกิจเพลง]</ref>
 
== กลุ่มบริษัทและธุรกิจในเครือ ==