ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขอม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขของ ชาตรี ดีทองหลาง (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Kaoavi
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 6:
นักวิชาการประวัติศาสตร์หลายคน เช่น [[ชาญวิทย์ เกษตรสิริ]], [[ประเสริฐ ณ นคร]], [[ไมเคิล ไรท์]] และ [[สุจิตต์ วงษ์เทศ]] เห็นว่าขอมกับเขมรคือคนกลุ่มเดียวกัน<ref>{{cite news |title=ชาญวิทย์ เกษตรศิริ : ขอม คือ ใคร Who are the Khom? |url=https://prachatai.com/journal/2009/07/25138 |accessdate=30 January 2023 |work=ประชาไท |language=th}}</ref><ref>{{cite news |title="เขมร" ไม่เรียกตัวเองว่า "ขอม" ไม่มีคำว่าขอมในภาษาเขมร คำว่า "ขอม" มาจากไหน? |url=https://www.silpa-mag.com/history/article_75839 |accessdate=30 January 2023 |work=ศิลปวัฒนธรรม |date=27 January 2023 |language=th}}</ref>
 
== ขอม ไม่ใช่เขมร ไม่ใช่ขะแมร์ ==
เดิม '''ขอม''' ไม่ได้หมายถึง'''เขมร'''กลุ่มเดียว เพราะ [[เขมร]] นั้น เป็นคำไทย ซึ่ง หมายถึง '''ขะแมร์''' ชาวเขมร ไม่ได้เรียกตัวเองว่า ขอม และไม่รู้จัก ขอม โดยคำว่า เขมร ได้ปรากฏขึ้นอย่างน้อย ๆ เมื่อ พ.ศ. 1069 จากจารึกคำว่า เขมร ในจารึกซับบาก อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา<ref>https://www.thairath.co.th/content/536482</ref> ต่อมาสถาปนากรุงศรีอยุธยาขึ้นใหม่ เมื่อ พ.ศ. 1893 แล้วชื่อ ขอม มีความหมายเปลี่ยนไปเป็นพวกเขมรเท่านั้น สืบมาจนถึงทุกวันนี้ ทำไมชื่อขอม เปลี่ยนความหมายไปเป็นเขมร ? ยังหาคำอธิบายไม่ได้ชัดเจน แต่พอจะจับเค้าว่าเพราะบริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยานับถือพุทธนิกายเถรวาทหมดแล้ว รวมทั้งละโว้ แต่ทางเขมรยังมีพวกนับถือฮินดูกับพุทธมหายาน คือขอมอยู่บ้าง
ขอม กับ สยาม กับ ไทย เป็นคนกลุ่มเดียวกัน แต่ไม่ใช่ เขมร ไม่ใช่ขแมร์ ตั้งแต่ประวัติศาสตร์สยามโบราณ เราเรียกตนเองว่า ไทย หรือ เทยฺ มาตั้งแต่สมัยที่ใช้อักษรลายสือไทยบันทึกคำสอนภาษาบาลีในพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท ยุคก่อนพุทธกาลมาแล้ว โดยที่ความเป็นเอกลักษณ์ และ อัตลักษณ์ไทย มีบุคคลสำคัญที่ประดิษฐ์อักษรขึ้นใช้ในสองแขนงด้วยกัน คือ ลายสือไทย (โดย ขุนสือไทย) กับ ลายสือขอมไทย (โดย ขอมฟ้าไทย)
ด้วยอารยธรรมทางการปกครอง และ การสื่อสารภาษา และ ศิลปวิทยาการต่างๆ ซึ่งเรียกว่า “ต้น..ไทย” เช่น ต้นลายสือไทย ต้นขุนไทย ต้นลายสือขอมไทย ต้นครูขอมไทย ต้นลายไทย ต้นทางไทยแขนงต่างๆ เป็นต้น เราจึงมีระบบปกครองสูงสุดของผู้นำเผ่าไทยเป็นแบบ “คู่เคียง” มาแต่ดั้งเดิม นั่นคือ “ขุน” เป็นตำแหน่งปกครองเมืองหรือแว่นแคว้นสูงสุด และมีคู่เคียงที่มีความรู้ด้านศิลปวิทยาการแขนงต่างๆ เรามีตำแหน่งคู่กันนี้ คือ “ขอม” ที่ได้ร่วมกันปกครองร่วมกันมานานมากกว่าสามพันปีมาแล้ว
ความโดดเด่นของ “ขุน” และ “ขอม” เริ่มมีความเปลี่ยนแปลงจาก “อำนาจคู่” กลายมาเป็น “อำนาจเดี่ยว” เมื่อไทยฝ่ายเหนือได้เข้าปกครองพระนคร ในแคว้นกัมวุเทศ หรือ กัมพูชาปัจจุบัน จึงใช้ภาษาไทยขอมที่เน้นอักษรสันสกฤตเป็นหลัก แต่ กลุ่มไทยใต้ หรือ สยามไทยสุวรรณภูมิ ยังคงใช้ ลายสือไทย ที่ใช้เขียนอักษรธรรมจากภาษาบาลี ในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท เป็นหลัก
เมื่อการปกครองในพระนครเริ่มเสื่อมอำนาจลง จึงมีกลุ่มขอมพระนคร ได้แก่ พ่อขุนขอมผาเมือง หรือ ขุนศรีปตินทราทิตย์ รวมมือกับขุนบางกลางหาว ซึ่งทั้งสองมีเชื้อสายจากขอมขุนนาวนำถมสายเดียวกันมาก่อน จึงร่วมมือกันปราบขอมสบาดโขลญลำพง เชื้อสายแขกทมิฬโจฬะ แล้วสถาปนาเมืองศรีเกษมชยปุระ หรือ สุโขไทยขึ้นเป็นราชธานี แต่ขุนขอมผาเมืองมีสายเลือดราชวงศ์ราม หรือ รามาธิบดี แต่ ขุนบางกลางหาว มีสายเลือดราชวงศ์ “ขุนงัวอิน” (เช่น ขุนหลวงพะงั่ว) จึงยอมยกอำนาจการปกครองให้สาย “ขุน” ขึ้นเป็นใหญ่ ซึ่งเป็นตำแหน่งเดี่ยวตั้งแต่นั้นมา
ส่วนตำแหน่งเดี่ยวอีกสายหนึ่งคือ สายขอมผาเมือง ซึ่งเป็นเจ้าเมืองราด (โคราช) อยู่ก่อนแล้ว ได้รับตำแหน่งที่ปรึกษาด้านวิทยาการรบและวิทยาการแขนงต่างๆ เป็นเจ้าเมืองศรีสัชนาลัย และ ควบคู่กับฐานะทางปกครองคือ ตำแหน่งอุปราชเมืองพระนคร (ในกัมพูชา) ผู้มีดาบอาญาสิทธิ์ขอมผู้ยิ่งใหญ่ คือ “พระขรรค์ชัยศรี” อยู่ตั้งแต่มีฐานะว่าที่กษัตริย์พระนคร ซึ่งสืบเชื้อสายทางมารดาต่อจากรุ่นทวดคือ พระเจ้าชัยวรมันที่๗ แห่งเมืองพิมาย และ เมืองราด นั่นเอง
ความรุ่งเรืองของเผ่าไทย ทั้งสายไทยเหนือ คือ ขอมทวาลาว หรือ ทวารวดีละโว้ ลพบุรี และ หริภุญชัย ลำพูน รวมทั้งสายใต้คือ สุวรรณภูมิ (พริบพลีหรือเพชรบุรี ราชพลีหรือราชบุรี และ สุพรรณภูมิหรือ สุวัณณภูมิ) รวมถึงหัวเมืองสำคัญจากภาคกลางตั้งแต่นครสวรรค์ลงไปถึงแหลมมลายู ต่างฝ่ายต่างมีการปกครองในระบบเจ้าอยู่หัวในระบบเดี่ยว (ในสมัยโบราณก่อนยุคพุทธกาล เคยใช้ระบบคู่ คือ ทั้งขุน และ ขอม ร่วมปกครองเมือง โดยไม่ก้าวก่ายหน้าที่กัน)อย่างมีความมั่นคงมาอย่างช้านานนับพันปี
เมื่อสายขอมพระนครเริ่มเสื่อมอำนาจลงในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่๙ ได้มีกลุ่มทาสแรงงานเข้ายึดอำนาจและยึดเอาพระขรรค์ชัยศรีสำหรับอาญาสิทธิ์ของพระมหากษัตริย์ แล้วปราบดาภิเษกขึ้นเสวยอำนาจ ความเป็นขอมในพระนครจึงเริ่มเสื่อมลง แต่ได้รวบรวมชาวไทยขอมทั้งหลายถอยร่นมาก่อตั้งกรุงศรีอยุธยา โดย สมเด็จพระรามาธิบดีที่๑ (สายวงศ์ราม ไม่ใช่พระเจ้าอู่ทอง สายวงศ์อินทร์ แต่อย่างใด) และ ใช้ภาษาขอมไทย เป็นภาษาทางการของราชสำนักสืบมา
เมื่อตกมาถึงสมัยเจ้านครอินทร์ สายราชวงศ์อินทร์ แห่งสุพรรณบุรี ได้ขึ้นครองราชสมบัติกรุงศรีอยุธยา จึงล้มล้างการใช้ภาษาขอมไทยในราชสำนักลง แล้วประกาศให้ใช้ภาษาไทย หรือ ลายสือไทย ขึ้นแทน ลายขอมไทย นับตั้งแต่นั้นมา ภาษาขอมจึงหลงเหลืออยู่แต่เฉพาะในใบลาน ที่เรียกว่า ภาษาขอมตัวธรรม นั่นเอง
 
คำว่า ขอม ปรากฏในจารึกวัดศรีชุม สุโขทัย 2 แห่ง ระบุชื่อ ขอมสบาดโขลญลำพง [[จิตร ภูมิศักดิ์]] เป็นนักวิชาการคนแรก ๆ พยายามศึกษาและอธิบายคำคำนี้ใหม่ ได้เสนอว่า ขอม ไม่ได้หมายถึงชนชาติหรือเชื้อชาติ แต่หมายถึงกลุ่มคนกลุ่มหนึ่ง ที่รับวัฒนธรรมฮินดูจากชมพูทวีปแล้วภายหลังเปลี่ยนเป็นพุทธมหายาน (ต่างกับชนชาติไทย-ลาวที่นับถือผีก่อนเปลี่ยนมารับพุทธเถรวาทจากชมพูทวีป) ใช้อักษรขอมในการจดจารึก ซึ่งคนกลุ่มนี้รวมถึงชนชาติเขมรและรัฐเครือญาติทั้งหมด รวมทั้งละโว้ ซึ่งต่อมาได้กลายมาเป็นอโยธยาศรีรามเทพนครด้วย คำว่า "ขอม" ถูกใช้เรียกกลุ่มคนโดยรวม คล้ายกับการใช้คำว่า "แขก" เรียกคนอิสลาม/ซิกข์/ฮินดูโดยรวม โดยไม่แยกว่าเป็นคนอินเดีย มลายู ชวา หรือตะวันออกกลาง
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ขอม"