ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อน 3 การแก้ไขของ 2001:44C8:4400:199F:1:2:7EF2:F642 (พูดคุย) ไปยังการแก้ไขของ Ekminarin ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{ชื่ออื่น|ศาสนสถาน|กระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งขนาดของปริมาณ|การวัด|วัด}}
{{ชื่ออื่น||ความหมายทางคณิตศาสตร์ของความยาว พื้นที่ หรือปริมาตร|ทฤษฎีการวัด}}
{{มุมมองสากล}}
{{พุทธศาสนา}}
 
'''วัด''', '''อาวาส''' หรือ '''อาราม''' คือคำเรียก[[ศาสนสถาน]]ของ[[ศาสนาพุทธในประเทศไทย]] [[กัมพูชา]] และ[[ลาว]] เป็นที่อยู่ของ[[ภิกษุ]] และประกอบศาสนกิจของ[[พุทธศาสนิกชน]] ภายในวัดมี[[วิหาร]] [[อุโบสถ]] [[ศาลาการเปรียญ]] [[กุฏิ]] [[เมรุ]] ซึ่งใช้สำหรับประกอบ[[ศาสนพิธี]]ต่าง ๆ เช่น [[การเวียนเทียน]] การสวด[[พุทธมนต์]] [[การทำสมาธิ]]
Tyjhufvuuiiityler nihggggg
 
วัดโดยส่วนใหญ่นิยมแบ่งเขตภายในวัดออกเป็นสองส่วนคือ พุทธาวาส และสังฆาวาส โดยส่วนพุทธาวาสจะเป็นที่ตั้งของสถูป[[เจดีย์]] [[อุโบสถ]] สถานที่ประกอบกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา และส่วนสังฆาวาส จะเป็นส่วนกุฎิสงฆ์สำหรับ[[ภิกษุ]][[สามเณร]]จำพรรษา และในปัจจุบันแทบทุกวัดจะเพิ่มส่วนฌาปนสถานเข้าไปด้วย เพื่อประโยชน์ในด้านการประกอบพิธีทางศาสนาของชุมชน เช่น การฌาปนกิจศพ โดยในอดีตส่วนนี้จะเป็นป่าช้า ซึ่งอยู่ติดหรือใกล้วัด ตามธรรมเนียมของแต่ละท้องถิ่น ซึ่งส่วนใหญ่กลุ่มฌาปนสถานในวัดพุทธศาสนาในประเทศไทยจะตั้งอยู่บนพื้นที่ ๆ เป็นป่าช้าเดิม
 
เส้น 25 ⟶ 26:
* เขตธรณีสงฆ์ คือ เขตที่ดินของวัดนอกเหนือจากเขตพุทธาวาสและเขตสังฆาวาส เป็นพื้นที่วัดที่ใช้ประโยชน์ในลักษณะต่าง ๆ เช่น เมรุ สุสาน [[โรงเรียน]]
 
==สาเหตุการสร้างและปฏิสังขรณ์==
Dad where are you?!!!
วัดเริ่มมีครั้งแรกใน[[ประเทศอินเดีย]] เพื่อเป็นที่ประดิษฐานสถูปเจดีย์และเป็นที่พักพระสงฆ์ [[วัดเวฬุวัน]]ถือเป็นพระอารามหรือวัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนา ปัจจุบันอยู่ใน[[รัฐพิหาร]] [[ประเทศอินเดีย]] จากนั้นอุบาสกอุบาสิกาอื่น ๆ ในที่ต่าง ๆ ได้สร้างวัดถวาย เช่น พระเชตะวันมหาวิหาร ของอนาถปิณฑิก เศรษฐีบุพพารามของนางวิสาขา อัมพปาลีวัน ของนางอัมพปาลี ในเมืองสาวัตถี วัดโฆสิตตาราม ของพระเจ้าอุเทน เมืองโกสัมภี เป็นต้น<ref>{{cite web |author1=พระสิทธินิติธาดา |title=สถานภาพทางกฎหมายของวัดที่มิได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา และสำนักสงฆ์ |url=http://135.181.38.202:8080/jspui/bitstream/123456789/72/1/2557-117%20%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%B2%2C%20%E0%B8%94%E0%B8%A3.pdf }}{{ลิงก์เสีย|date=พฤศจิกายน 2022 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref>
 
สำหรับการสร้างวัดในประเทศไทยมีมาตั้งแต่สมัยศิลปะ[[ทวาราวดี]] ในพุทธศวรรษที่ 12–16 วัดแห่งแรกในพื้นที่ของประเทศไทย บ้างสันนิษฐานว่า [[วัดเขาทำเทียม]] [[จังหวัดสุพรรณบุรี]] สร้างหลังจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพานได้ 300 ปี<ref>{{cite web |title=พระพุทธปุษยคีรีศรีสุวรรณภูมิ วัดเขาทำเทียม |url=https://thailandtourismdirectory.go.th/th/attraction/670 |publisher=กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา}}</ref> บ้างก็ว่า "วัดปุณณารามดำรงอริยสงฆ์" ซึ่งระบุไว้ในกระเบื้องจารที่ขุดได้ที่คูบัว จังหวัดราชบุรี ปัจจุบันไม่มีร่องรอยปรากฏให้เห็น อยู่ในบริเวณ[[เมืองโบราณคูบัว]] [[จังหวัดราชบุรี]] สร้างขึ้นในสมัย[[พระเจ้าทับไทยทอง]] หลังจากที่ไทยส่งคณะทูตเดินทางไปยัง[[วัดเวฬุวันมหาวิหาร]] วัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนา ที่ประเทศอินเดีย<ref>{{cite web |title=ความเชื่อสร้างบุญเที่ยว9วัด ไฉนต้องไหว้ให้ครบใน1วัน |url=https://d.dailynews.co.th/article/669015/ |publisher=เดลินิวส์}}</ref>
 
ใน[[ประเทศกัมพูชา]] พบหลักฐานการสร้างพระวิหารในพุทธศาสนานิกาย[[เถรวาท]]ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 19 ในรัชสมัยของพระเจ้าสรินทรวรมัน หลักฐานจากศิลาจารึก k.754 ได้กล่าวถึงพระราชบัญชาของพระเจ้าสรินทรวรมันที่ทรงสั่งให้สร้างพระวิหารและพระพุทธรูปสำหรับเคารพบูชาในปี พ.ศ. 1851<ref>George Cœdès. "La Plus Ancienne Inscription En Pali Du Cambodge." Translated by Ang Choulean. In Udaya, (Phnom Penh: Fiends of Khmer Culture, 2008), 115-127.</ref>
 
วัดในระยะแรกมีจุดประสงค์ 2 อย่าง คือ เพื่อเป็นที่บรรจุพระบรมธาตุ เรียกว่า ''วัดพุทธเจดีย์'' อีกประการหนึ่งคือ สร้างเพื่อเป็น ''วัดอนุสาวรีย์'' ได้แก่สถูปเพื่อบรรจุอัฐิธาตุบุคคลสำคัญทางพุทธศาสนา ต่อมาวัตถุประสงค์การสร้างเริ่มขยายออกไป แต่มีสาเหตุสำคัญ คือ ความเชื่อในเรื่อง[[กรรม]] [[ไตรภูมิ]] และยุค[[พระศรีอริยเมตไตรย]]ตามคำสอนในคัมภีร์ศาสนา กล่าวคือ การทำบุญที่ได้ผลบุญมากที่สุดคือการสร้างวัด
 
ปัจจัยการสร้างวัดและบูรณะปฏิสังขรณ์อื่น ๆ ได้แก่ สร้างเพื่อแสดงความรุ่งเรืองของอาณาจักร เพื่อเป็นอนุสรณ์สงคราม เพื่อสะดวกในการทำบุญ เพื่อเป็นศูนย์รวมจิตใจของชุมชน เพื่อใช้เป็นสถานศึกษา สร้างเพื่อความศรัทธาในภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง หรืออาจเป็นค่านิยม อย่าง ความนิยมสร้างวัดประจำรัชกาล วัดประจำตระกูล สร้างเป็นอนุสรณ์และอุทิศส่วนกุศล เป็นต้น<ref>{{cite web|url=http://www.sure.su.ac.th/xmlui/bitstream/handle/123456789/1449/Fulltext.pdf?sequence=1&isAllowed=y|title=ความสัมพันธ์ของชุมชนกับศิลปกรรมในวัดราษฎร์ริมคลองสามเสน|author=ภัทราวรรณ บุญจันทร์|publisher=มหาวิทยาลัยศิลปากร}}</ref>
 
== วัดประจำพระราชวังในประเทศไทย ==
เส้น 32 ⟶ 42:
 
== เด็กวัด ==
'''เด็กวัด''' เปยในเป็นเด็กชายใน[[ประเทศไทย]]ซึ่งอาศัยอยู่ใน[[วัด]]และคอยรับใช้[[ภิกษlภิกษุ|พระภิกษุ]] โดยเด็กวัดจะคอยถือ[[บาตร]]ของพระภิกษุในช่วงการ[[บิณฑบาต]]ยามเช้า หลังจากนั้น เด็กวัดจะมีหน้าที่จัดเตรียมอาหารของพระภิกษุก่อนที่จะรับประทานอาหารที่เหลือจากพระฉันเสร็จ ("ข้าวก้นบาตร") เด็กวัดเป็นผู้ถือ[[ทศศีล|ศีล 10 ประการ]] เด็กชายบางคนถูกส่งมาเป็นเด็กวัดเพื่อ[[การทำบุญ (พุทธศาสนา)|ประกอบความดี]] บ้างก็ถูกส่งมาเพราะมีที่พักและอาหารโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย เด็กวัดบางคนถูกพระเก็บมาเลี้ยงเนื่องจากไร้พ่อแม่ขาดมิตร ในขณะที่บางส่วนถูกส่งมาเพื่อศึกษาธรรม เด็กวัดบางส่วนบวชเป็นภิกษุ และบ้างก็อาจถือว่าเด็กวัดเป็นขั้นตอนอย่างเป็นทางการสำหรับการบวชเป็น[[สามเณร]] ขึ้นอยู่กับอายุและประเพณีในท้องถิ่น<ref>{{Cite web|url=https://www.m-culture.go.th/young/ewt_news.php?nid=141&filename=index|title=เด็กวัด|work=I Love Thai Culture กระทรวงวัฒนธรรม|date=12 มกราคม 2559|access-date=2019-10-24|archive-date=2021-02-27|archive-url=https://web.archive.org/web/20210227214009/https://www.m-culture.go.th/young/ewt_news.php?nid=141&filename=index|url-status=dead}}</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/วัด"