ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีรถไฟธนบุรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
GuJemoeder51 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 10389770 สร้างโดย Pattharachai (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ ถูกย้อนกลับแล้ว
GuJemoeder51 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
บรรทัด 49:
== ประวัติ ==
อาคารแรกเริ่มเมื่อสร้างสถานีบางกอกน้อย ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 เป็นอาคารคอนกรีตชั้นเดียวหลังคาทรงจั่ว มีหลังคาคลุมชานชลาสร้างด้วยไม้ทั้งหลัง ตั้งอยู่ด้านทิศใต้ริมทางรถไฟ(ทางประธาน) อยู่เลยลึกเข้ามาทางด้านทิศตะวันตกของริมแม่น้ำเจ้าพระยาประมาณ 300 เมตร ต่อมาเมื่อครั้งสงครามโลกครั้งที่ 2 กองทัพญี่ปุ่นได้ตั้งกองบัญชาการขึ้นที่สถานีรถไฟบางกอกน้อย จากนั้นไม่นาน ฝ่ายสัมพันธมิตรได้ส่งเครื่องบินเข้ามาทิ้งระเบิดสถานีรถไฟบางกอกน้อยอย่างหนัก ตัวอาคารสถานีรถไฟบางกอกน้อยได้รับความเสียหายบางส่วน แต่ที่ทำการรับส่งสินค้าที่ตั้งอยู่บริเวณริมแม่น้ำเจ้าพระยาและคลังเก็บสินค้าริมคลองบางกอกน้อยถูกทิ้งระเบิดเสียหายทั้งหมด ต่อมาได้มีการก่อสร้างสถานีรถไฟบางกอกน้อยขึ้นมาใหม่ โดยรื้ออาคารสถานีเดิมออกไปพร้อมกับปรับปรุงและขยายย่านสถานีเดิม โดยสร้างเป็นอาคารอิฐสีแดง มีหอนาฬิกา ซึ่งถือว่าเป็นอาคารที่มีความสวยงามมากที่สุดอีกแห่งหนึ่ง และตั้งชื่อสถานีนี้ใหม่ว่า '''สถานีธนบุรี''' และเปิดใช้งานอาคารหลังใหม่เมื่อปี พ.ศ. 2493
 
{{ป้ายสถานีรถไฟ3|name_th=ธนบุรี|name_en=Thon Buri|distance=0.866}}
 
บทบาทของสถานีธนบุรีในฐานะต้นทางของรถไฟสายใต้เริ่มน้อยลง เมื่อรถไฟสายใต้หลายขบวนได้เปลี่ยนต้นทาง-ปลายทางไปที่[[สถานีกรุงเทพ]] (หัวลำโพง) ซึ่งต่อมาในระยะหลัง ขบวนรถที่ให้บริการ ณ สถานีธนบุรีจึงมีเพียงขบวนรถธรรมดาและและขบวนรถชานเมือง รวมถึงขบวนรถรวม ในเส้นทางสายใต้ (รวมถึงเส้นทางสายกาญจนบุรีและสุพรรณบุรี)