ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระพรหม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.9.2
NotSantisukRBLX (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขคำผิดจากคำว่า “ในคติของชาวไทยที่รับคติความเชื่อจากศาสนาพรหมณ์-ฮินดู เชื่อว่าพระพรหมเป็นผู้ลิขิต” เป็นคำว่า “ในคติของชาวไทยที่รับคติความเชื่อจากศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เชื่อว่าพระพรหมเป็นผู้ลิขิต”
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 32:
ตามมติของพราหมณาจารย์แต่โบราณกล่าวถึงตำรา[[พรหมชาติ]] ว่าเป็นตำราที่มาจากพรหม<ref>คัมภีร์ อสีติธาตุ คำอธิบายท้ายตำราภาคที่สี่ โหราศาสตร์ไทยมาตรฐานฉบับสมบูรณ์ ของ หลวงวิศาลดรุณกร (อ้น สาริกบุตร)</ref> ตำราพุทธลักษณะที่[[ฤษี]]แต่งไว้ก็มาจากพรหม เหตุที่รู้เห็นถึงพุทธลักษณะได้เพราะพรหมเป็นผู้มีอายุยืนและได้รู้เห็นเรื่องราวต่าง ๆ อยู่ตลอดกาลนาน เมื่อเวลาพราหมณ์หนุ่มเที่ยวสืบหาที่เรียนและทำความเคารพนบนอบในผู้เฒ่าผู้แก่อยู่นั้น พระพรหมเห็นแก่ความกรุณา พอทราบเรื่อง จึงได้แปลงเพศมาเป็นพราหมณ์ฤษีแล้วบอกวิชา ทั้งเรื่องมนต์ ไสยเวท ตำราพยากรณ์ ตำราดูลักษณะของหมอดู ต่าง ๆนั้นเองพราหมณ์จึงถือว่ามาจากพรหม และจึงได้นับถือกันว่าเป็นของศักดิ์สิทธิ์มีความงดงาม แม้คัมภีร์ปิงคละดาบส ตำราโตลกจือ[[โหราศาสตร์]]จีน ถึงตลอดคัมภีร์โหราศาสตร์ในรุ่นหลัง ๆ ก็ได้กล่าวว่าได้มาแต่ฤษีและเทวะบันดาล อาจารย์ผู้ที่เรียนรู้ไว้ต่างกล่าวถึงสิ่งมงคลนี้ในทำนองเดียวกัน
 
ในคติของ[[ชาวไทย]]ที่รับคติความเชื่อจากศาสนาพรหมณ์พราหมณ์-ฮินดู เชื่อว่าพระพรหมเป็นผู้ลิขิต ชะตาชีวิตของบุคคลต่าง ๆ ตั้งแต่เกิดจนตาย เรียกว่า "พรหมลิขิต" และผู้ใดที่บูชาพระพรหมอยู่เป็นนิจ พระองค์จะประทานพรให้สมหวัง เรียกว่า "พรพรหม" หรือ "พรหมพร"<ref name="กเนศ">{{Cite web |url=http://www.sil5.net/index.asp?catid=2&contentID=10000004&getarticle=72&title=%BE%C3%D0%BE%C3%CB%C1 |title=พระพรหม |access-date=2012-11-13 |archive-date=2012-02-05 |archive-url=https://web.archive.org/web/20120205030512/http://www.sil5.net/index.asp?catid=2&contentID=10000004&getarticle=72&title=%BE%C3%D0%BE%C3%CB%C1 |url-status=dead }}</ref> และยังเป็นเทพประจำทิศเบื้องบนอีกด้วย<ref>{{cite web|url=http://www.baanjomyut.com/library_2/tradition_and_phanom_rung/03.html|title=
ประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง|date=|accessdate=10 June 2014|publisher=บ้านจอมยุทธ์}}</ref>