ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จารีตและวิถีประชา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 10153171 สร้างโดย 202.80.249.137 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 15:
 
== วิถีประชา ==
วิถีประชาเป็นบรรทัดฐานทางสังคมที่คนยอมรับนับถือจนเกิดความเคยชิน เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของบุคคลในสังคม ไม่ได้มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับความดีความชั่วดังเช่นจารีต บ้างจึงเรียกวิถีประชาเรียกว่า "วิถีชาวบ้าน" เช่น การยกมือไหว้ หรือการสวมชุดดำในงานศพ โดยส่วนใหญ่เป็นมาตรฐานทางพฤติกรรม ไม่มีการบังคับควบคุมอย่างเข้มงวด เมื่อมีการละเมิดผู้ละเมิดก็เพียงได้รับคำติฉินนินทา ฉันรักเธอ
 
วิถีประชาสามารถจำแนกได้ดังนี้<ref>มานิตย์ จุมปา. (2548). "สังคมและความประพฤติ". ‘‘ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมาย.’’ มานิตย์ จุมปา, บรรณาธิการ. (พิมพ์ครั้งที่หก) กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า 4-5.</ref>
บรรทัด 24:
# พิธีการ ({{lang-en|rite}}) เป็นแบบแผนพฤติกรรมที่มีลำดับขั้นตอนแน่นอน และต้องทำซ้ำ ๆ เช่น วันพระ วันสงกรานต์ วันทำบุญขึ้นบ้านใหม่ วันมาฆบูชา
# พิธีกรรม ({{lang-en|ritual}}) เป็นแบบแผนพฤติกรรมตามความเชื่อที่มักไม่เปิดเผยต่อสาธารณชนทั้งหมด เช่น พิธีรับน้องใหม่
# มารยาททางสังคม ({{lang-en|etiquette}}) เป็นการปฏิบัติตนให้เหมาะสมแก่กาลเทศะในการสมาคม เช่น มรรยาทในการรับประทานอาหาร การโดยสารรถประจำทางควรลุกให้เด็ก คนชรา และสตรีมีครรภ์นั่ง เป็นต้น
 
== อ้างอิง ==