ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 21:
}}
 
'''บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน)''' เป็นบริษัทแม่ของกิจการ[[บันเทิง]] ซึ่งประกอบด้วย กลุ่มธุรกิจ[[ดนตรี]], [[สื่อ]], [[ภาพยนตร์]], [[ดิจิทัล]], [[สถานีโทรทัศน์]][[ดาวเทียม]], [[สถานีวิทยุ]], [[สื่อสิ่งพิมพ์]], และ [[อีเวนต์เมเนจเม้นท์]] แบบครบวงจร ขนาดใหญ่ที่สุดใน[[ประเทศไทย]]<ref>{{Cite web |url=http://www.gmmgrammy.com/th/vtr-grammy.htm |title=ข้อมูลบริษัท |access-date=2012-10-14 |archive-date=2012-09-23 |archive-url=https://web.archive.org/web/20120923230102/http://www.gmmgrammy.com/th/vtr-grammy.htm |url-status=dead }}</ref> ก่อตั้งโดย [[ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม]] และ[[เรวัต พุทธินันทน์]] กันตพัฒน์ ตันติพณิชบ์กุล เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526 และเป็นค่ายเพลงที่ดี[[ที่สุดของประเทศไทย]]<ref>{{Cite web |url=http://cabal.exteen.com/20071019/gmm-grammy-1 |title=กว่าจะเป็น GMM Grammy...อันดับ1ของประเทศไทย |access-date=2015-04-27 |archive-date=2016-03-05 |archive-url=https://web.archive.org/web/20160305000518/http://cabal.exteen.com/20071019/gmm-grammy-1 |url-status=dead }}</ref> และอันดับ 3 ของเอเชีย จากการจัดอันดับของนิตยสารชื่อดังของอังกฤษ<ref>[http://www.dek-d.com/board/view/1479648/ ผลการจัดอันดับค่ายเพลงที่ดีที่สุดในเอเชีย]</ref> นอกจากนี้ยังเป็นบริษัทที่มีคนต้องการเข้าทำงานมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ของประเทศไทยอีกด้วย<ref>[http://www.dek-d.com/board/view/3174224/ 10 บริษัทในประเทศไทยที่คนอยากทำงานด้วยมากที่สุด]</ref>
[[ไฟล์:Buildinggmm.jpg|thumb|อาคารจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่เพลส (ตึกแกรมมี่) ย่านสุขุมวิท 21 ([[ถนนอโศกมนตรี]])]]
จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ทำธุรกิจทางด้านดนตรี สื่อ ภาพยนตร์ สถานีโทรทัศน์ สถานีวิทยุ สื่อสิ่งพิมพ์ และ อีเวนต์เมเนจเม้นท์ เป็นต้น โดยระยะแรกดำเนินธุรกิจหลักสร้างสรรค์ผลงาน เพลงไทยสากล โดยออกอัลบั้มชุดแรก นิยายรักจากก้อนเมฆ โดย [[พันทิวา สินรัชตานันท์|แพทย์หญิงพันทิวา สินรัชตานันท์]] และผลิตรายการทีวี 3 รายการ ได้แก่ ยิ้มใส่ไข่, มันกว่าแห้ว และ เสียงติดดาว จากนั้นจึงเริ่มขยายกิจการไปสู่ธุรกิจผลิต[[รายการโทรทัศน์]]และรายการวิทยุ บริษัทได้ขยายการดำเนินธุรกิจเข้าสู่ธุรกิจบันเทิงอื่น ๆ เช่น วิทยุ, ภาพยนตร์, การจัดคอนเสิร์ต, การศึกษา, สื่อสิ่งพิมพ์ รวมทั้งธุรกิจร้านค้าปลีกเพื่อจัดจำหน่ายสินค้าต่าง ๆ ของบริษัทในเครือ เช่น เทป และซีดีเพลง การขยายธุรกิจดังกล่าวส่งให้บริษัทดำเนินธุรกิจอย่างครบวงจร และเป็นผู้นำในอุตสาหกรรมบันเทิงไทยในปี พ.ศ. 2544 ข้อมูลเมื่อ เมษายน พ.ศ. 2559 จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์เพลง 35,33923,679339 เพลง <ref>[https://www.ipthailand.go.th/images/A/190459_copy.pdf ผู้นำในอุตสาหกรรมบันเทิงไทยในปี พ.ศ. 2544]{{ลิงก์เสีย|date=สิงหาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref>
 
ปัจจุบัน บริษัท ฟ้า ดำรงชัยธรรม จำกัด เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ในสัดส่วนร้อยละ 52.05%<ref>[https://www.settrade.com/th/equities/quote/grammy/company-profile/major-shareholders ข้อมูลผู้ถือหุ้น บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน)], [http://www.settrade.com เซ็ตเทรด.คอม]</ref> โดยเป็นการปรับโครงสร้างของกลุ่มดำรงชัยธรรม เนื่องจากตัวไพบูลย์มีอายุมาก และต้องการจัดสรรทรัพย์สินส่วนตนให้เป็นกองกลางของครอบครัว รวมถึงตั้งธรรมนูญครอบครัวเพื่อแบ่งหน้าที่การบริหารในจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ อย่างชัดเจน ทั้งนี้ไพบูลย์ยังคงมีเสียงส่วนใหญ่ใน บจ.ฟ้า ดำรงชัยธรรม ด้วยสัดส่วนการถือหุ้น 99% ส่วนอีก 1% ไพบูลย์ให้บุตรธิดาทั้ง 4 คนถือเท่ากันที่คนละ 0.25%<ref>{{Cite web|date=2021-10-18|title=‘อากู๋ ไพบูลย์’ แจงโยนบิ๊กล็อต 52% หวังปรับโครงสร้างถือหุ้นมอบเป็นมรดกให้ลูก พร้อมตั้งธรรมนูญครอบครัว แบ่งหน้าที่บริหารงานชัด|url=https://thestandard.co/grammy-stock-181064/|url-status=live|access-date=2022-08-14|website=[[เดอะสแตนดาร์ด]]|language=th}}</ref>