ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพระยาอภัยราชามหายุติธรรมธร (หม่อมราชวงศ์ลพ สุทัศน์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Armonthap (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 33:
พ.ศ. 2418 ได้เข้ารับราชการในกรมมหาดเล็ก ถึงปี พ.ศ. 2420 ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็น''นายรองฉัน'' แล้วเลื่อนเป็น''นายขัน หุ้มแพร'' ถือศักดินา ๔๐๐ เมื่อวันเสาร์ เดือนสิบเอ็ด ขึ้นสิบสองค่ำ ปีเถาะเอกศก จุลศักราช ๑๒๔๑ ตรงกับปี พ.ศ. 2422<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2427/008/68.PDF พระราชทานสัญญาบัตรในปีเถาะเอกศก] </ref>ต่อมาย้ายไปรับราชการในกระทรวงนครบาล ตำแหน่งเจ้ากรมกองตระเวน ฝ่ายกองไต่สวนโทษหลวง ถึงวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2433 จึงได้เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็น''พระประชากรกิจวิจารณ์'' ถือศักดินา ๘๐๐<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2433/031/268.PDF พระราชทานสัญญาบัตร] </ref>และในวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2435 ได้เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็น ''พระยาอินทราธิบดีสีหราชรองเมือง'' เจ้ากรมกองตระเวนขวา ถือศักดินา 1,000<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2435/052/458.PDF พระราชทานสัญญาบัตร], เล่ม ๙, ตอน ๕๒, ๒๖ มีนาคม ๒๔๓๕, หน้า ๒๐๐๗</ref> ได้เลื่อนตำแหน่งเรื่อยมาจนได้เป็นปลัดทูลฉลองกระทรวงนครบาล เมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2445 <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2445/004/53.PDF แจ้งความกระทรวงนครบาล] </ref> และได้เลื่อนยศเป็น มหาอำมาตย์เอก เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2455<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2455/D/808.PDF พระราชทานเลื่อนยศ] </ref>
 
เมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เสด็จสวรรคตในวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 วันต่อมาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6 โปรดให้ท่านได้เข้าถือน้ำและรับตั้งเป็น[[องคมนตรี]] ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2453/D/2273_1.PDF บัญชีพระนามและนามองคมนตรี ที่พระราชทานสัญญาบัตรแล้ว], เล่ม 27, ตอน 0 ง, 1 มกราคม ร.ศ. 129, หน้า 2,273-4</ref>
 
วันจันทร์ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2455 [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงโปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็นเจ้าพระยา มีสมญาจารึกในสุพรรณบัฏว่า ''เจ้าพระยาอภัยราชา มหายุติธรรมธร สยามนริศรนิตยภักดี วรางคมนตรีกุลพิศิษฎ์ ไกรสรวิชิตสันตติวงษ์ สิทธิประสงค์นฤปราช สุจริตามาตย์สีตลัถยาศัย อดุลไตรรัตนสรณธาดา อภัยพิริยบรากรมพาหุ'' ดำรงศักดินา 10,000<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2455/A/240.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ เลื่อนและตั้งกรมพระองค์เจ้า และเจ้าพระยา], เล่ม ๒๙, ตอน ก, ๑๓ พฤศจิกายน ๒๔๕๕, หน้า ๒๕๒-๔</ref> ได้รับพระราชทานเครื่องอิสริยยศประกอบด้วย มาลาเส้าสเทินกำมะหยี่ เครื่องทองคำลงยาราชาวดี เสื้อทรงประกาศ กระบี่ฝักทองคำสลัก หีบหมากทองคำลงยาราชาวดี หลังหีบตราไอยราพต และกาน้ำรูปกระบอกมีถาดรองทองคำ ฝาตราไอยราพต<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=29|issue=0 ง|pages=1902|title=พระราชทานเครื่องราชอิสริยยศ|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2455/D/1900.PDF|date=24 พฤศจิกายน ร.ศ. 131|accessdate=20 กันยายน พ.ศ. 2563|language=ไทย}}</ref> ต่อมาในวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2456 ยังทรงโปรดเกล้าฯ พระราชทานเข็มตั้งเป็นท่านสมุหมนตรี<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2456/D/1993.PDF แจ้งความกระทรวงมุรธาธร เรื่อง พระราชทานเข็มตราตั้ง สมุหมนตรี แก่เจ้าพระยาอภัยราชามหายุติธรรมธร], เล่ม ๓๐, ตอน ๐ ง, ๓๓๐ พฤศจิกายน ๒๔๕๖, หน้า ๑๙๙๓</ref> และในวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2457 ได้รับพระราชทานยศเป็น''จางวางเอก''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2457/D/2007_1.PDF พระราชทานยศ], เล่ม ๓๑, ตอน ๐ ง, ๖ ธันวาคม ๒๔๕๗, หน้า ๒๐๐๗</ref>