ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทศชาติชาดก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
WONDERBEARdee (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Lookruk (คุย | ส่วนร่วม)
Restored revision 8577681 by GeonuchBot (talk) (TwinkleGlobal)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 2:
{{พุทธศาสนา}}
 
'''มหานิบาตชาดก''' '''ทศชาติชาดก''' หรือ '''พระเจ้าสิบชาติ''' เป็น[[ชาดก]]ที่สำคัญ กล่าวถึงการบำเพ็ญ[[บารมี]]ใน 10 ชาติสุดท้ายของพระโพธิสัตว์ ก่อนจะเสวยพระชาติมาเกิดเป็น[[พระโคตมพุทธเจ้า]] หรือเจ้าชายสิทธัตถะแห่งศากยวงศ์ ชาดกทั้ง 10 เรื่อง เพื่อให้จำง่าย มักนิยมท่องโดยใช้พยางค์แรกของแต่ละชาติ คือ เต ชะ สุ เน มะ ภู จะ นา วิ เว ซึ่งเรียกว่า '''คาถาหัวใจทศชาติ''' หรือ '''คาถาหัวใจพระเจ้าสิบชาติ'''
 
== ชาดกทั้ง 10 เรื่อง ==
;[[เตมีย์ชาดก]] : ชาติที่ 1 เพื่อบำเพ็ญเนกขัมมบารมี - เตมียชาดก (เต) เป็นชาติแรกในทศชาติชาดก ก่อนที่จะมาตรัสรู้เป็นสมเด็จพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้านามพระโคดม ชาตินี้ พระองค์ทรงบำเพ็ญเนกขัมมบารมี หมายถึง การออกบวช
 
; [[พระมหาชนก|มหาชนกชาดก]]: ชาติที่ 2 เพื่อบำเพ็ญวิริยบารมี - มหาชนกชาดก (ชะ) พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระชนกกุมาร โอรสพระเจ้าอริฏฐชนก กษัตริย์เมืองมิถิลา ขณะที่เสด็จลงสำเภาไปค้าขาย เกิดพายุใหญ่เรือแตกกลางมหาสมุทร พระมหาชนกทรงว่ายน้ำโต้คลื่นอยู่ในมหาสมุทรถึง 7 วัน นางเมขลาเห็นจึงพูดลองใจว่าให้พระองค์ยอมตายเสียเสียตามบุญตามกรรม แต่พระองค์ก็ไม่ทรงฟัง ยังพยายามว่ายน้ำโต้คลื่นอยู่ตามเดิมนาง[[เมขลา]]เห็นเลื่อมใสในความพยายาม จึงอุ้มพระองค์เหาะไปส่งที่ฝั่ง พระชาตินี้พระโพธิสัตว์ทรงบำเพ็ญ วิริยบารมี
 
[[ไฟล์:IMG 0536.jpg|thumb|ภาพเขียนฝาผนังเรื่องสุวรรณสาม ชาดก บันทึกจากวัดหน่อพุทธรางกูล สุพรรณบุรี]]
;[[สุวรรณสามชาดก]] : ชาติที่ 3 เพื่อบำเพ็ญเมตตาบารมี - สุวรรณสามชาดก (สุ) พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพรหมฤๅษี ต้องรับภาระเลี้ยงดูบิดามารดาผู้ตาบอด วันหนึ่งกบิลยักษ์แผลงศรมาถูกได้รับบาดเจ็บแสนสาหัส แต่ก็ไม่ได้โกรธ กลับแสดงเมตตาจิตต่อ และเทศนาทศพิธราชธรรมให้กบิลยักษ์ฟัง ด้วยอำนาจแห่งเมตตาธรรมทำให้พระสุวรรณสามหายเจ็บปวดรอดชีวิตมาได้ และบิดามารดาก็กลับมีจักษุดี พระชาตินี้พระโพธิสัตว์ทรงบำเพ็ญ เมตตาบารมี
 
; [[เนมิราชชาดก]] : ชาติที่ 4 เพื่อบำเพ็ญอธิษฐานบารมี - เนมิราชชาดก (เน) เป็น[[ชาติ]]ที่ 4 ของทศชาติชาดก พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเนมิราช โอรสเจ้าเมืองมิถิลา โปรดการบริจาคทานและรักษาพรหมจรรย์ พระอินทร์ทรงพอพระทัย ถึงกับให้พระมาตุลีนำทิพยรถมารับไปเที่ยวเมืองสวรรค์ และเมืองนรก แล้วเชิญให้ครองเมืองสวรรค์ พระเนมิราชไม่ทรงรับและเสด็จกลับบ้านเมืองของพระองค์ พอทรงชราก็ออกผนวช พระชาตินี้พระโพธิสัตว์ทรงบำเพ็ญ อธิษฐานบารมี
 
; [[มโหสถชาดก]] :ชาติที่ 5 เพื่อบำเพ็ญปัญญาบารมี
; [[มโหสถชาดก]] :ชาติที่ 5 เพื่อบำเพ็ญปัญญาบารมี - มโหสถชาดก (มะ) พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็น มโหสถบัณฑิต ผู้เกิดมาพร้อมแท่งยาใหญ่ซึ่งสามารถรักษาได้สารพัดโรค วันหนึ่ง พระเจ้าวิเทหะ เจ้ากรุงมิถิลาได้ทรงพระสุบินว่าจะมีบัณฑิตคนที่ 5 เกิดขึ้นจึงโปรดให้มหาอำมาตย์ออกตามหา จึงได้ไปพบ มโหสถกุมาร ซึ่งขณะนั้นมีอายุเพียง 7 ปี แต่บัณฑิตทั้ง 4 ของพระเจ้าวิเทหะต้องการจะพิสูจน์ปัญญาของมโหสถกุมารว่าเหมาะสมจะเป็นบัณฑิตคนที่ 5 หรือไม่ โดยมโหสถกุมารต้องผ่านการทดสอบเชาวน์ปัญญาถึง 19 ครั้ง จึงสิ้นความคลางแคลงใจ พระเจ้าวิเทหะจึงรับมโหสถเป็นพระราชโอรสบุญธรรม พร้อมทั้งสถาปนาให้เป็นมหาบัณฑิต พระชาตินี้พระโพธิสัตว์ทรงบำเพ็ญปัญญาบารมี
;ภูริทัตชาดก : ชาติที่ 6 เพื่อบำเพ็ญศีลบารมี
 
; จันทชาดก : ชาติที่ 7 เพื่อบำเพ็ญขันติบารมี
;ภูริทัตชาดก : ชาติที่ 6 เพื่อบำเพ็ญศีลบารมี - ภูริทัตชาดก() พระโพธิสัตว์เสวยชาติเป็น ภูริทัตนาคราช ผู้ที่ได้บำเพ็ญศีลบารมีอย่างยิ่งยวด ยอมทนทุกข์ทรมานแสนสาหัสและยอมสละได้แม้แต่ชีวิตของตนเอง แต่ไม่ยอมผิดศีล ภูริทัตไดเ้ไปเยือนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เห็นสมบัติอันโอฬารของท้าวสักกะ จึงคิดว่า “สมบัติทิพย์เหล่านี้ ล้วนบังเกิดขึ้นด้วยบุญทั้งสิ้น” จึงเร่งสร้างบุญโดยการถืออุโบสถศีล เพื่อจะได้พ้นไปจากสภาพของนาค ภายหลังถูกหมองูชื่ออาลัมพายน์จับตัวไปแสดงฤทธิ์ให้คนดูเพื่อแลกเงิน แม้ว่าภูริทัตมีฤทธิ์เดชมากมายเพียงแค่ลืมตามองหมองูก็จะกลายเป็นขี้เถ้าไปในทันที แต่ภูริทัตกลับยอมถูกทรมานแสนสาหัสโดยไม่ทำร้ายใคร เพื่อรักษาศีลบารมี
; จันทชาดก : ชาติที่ 7 เพื่อบำเพ็ญขันติบารมี - จันทชาดก()พระโพธิสัตว์ทรงบังเกิดเป็น “พระจันทกุมาร” ทรงบำเพ็ญขันติบารมีด้วยความอดทนอย่างไม่มีขีดจำกัดยอมสละตนเองเพื่อช่วยผู้อื่นให้พ้นภัย พระจันทกุมารทรงเป็นอุปราชผู้ปรีชาสามารถและมีน้ำพระทัยที่เปี่ยมไปด้วยพระเมตตา จึงเป็นที่รักของประชาชนทั้งเมือง อยู่มาวันหนึ่ง พระจันทกุมารได้ตัดสินคดีที่ขัณฑหาลพราหมณ์ตัดสินอย่างไม่เป็นธรรมมาตัดสินใหม่ด้วยความยุติธรรม จนกระทั่งเป็นที่สรรเสริญของชาวเมือง พระราชบิดาจึงทรงมอบหมายหน้าที่ตัดสินคดีให้แก่พระจันทกุมารนับตั้งแต่บัดนั้น ทำให้ขัณฑหาลพราหมณ์ ผู้เคยมีอำนาจตัดสินคดีไม่พอใจมาก เพราะต้องเสียผลประโยชน์จากการรับสินบนพราหมณ์จึงรอคอยโอกาสที่จะล้างแค้นพระจันทกุมาร วันหนึ่งพระเจ้าเอกราชทรงพระสุบิน (ฝัน) เห็นดาวดึงส์เทวโลกอันงดงามอลังการเมื่อตื่นจากบรรทมทรงปรารถนาที่จะไปสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ จึงตรัสถามวิธีไปสวรรค์จากพราหมณ์ พราหมณ์ผู้รอคอยโอกาสจะแก้แค้นพระจันทกุมาร จึงทูลหลอกว่าจะไปสวรรค์ได้ต้องบูชายัญโดยให้ตัดพระเศียร (ศีรษะ) ของพระจันทกุมาร พระธิดา พระมเหสี เศรษฐี ช้าง ม้า และโค มาเป็นเครื่องเซ่นสรวง พระราชาจึงรับสั่งให้ทำตามนั้น ฝ่ายพระจันทกุมารแม้ความตายกำลังจะมาถึงก็ทรงอดทนไม่ทรงตอบโต้ทั้ง ๆ ที่ทรงมีกำลังไพร่พลมากพอที่จะเอาชนะได้ทรงบำเพ็ญขันติบารมีด้วยความอดทนอย่างไม่มีขีดจำกัด ไม่โกรธเคืองศัตรูผู้มุ่งร้าย แต่จะทรงยอมเป็นทาสรับใช้ศัตรูตลอดชีวิตและยอมสละชีวิตเพื่อช่วยผู้อื่นให้พ้นภัย เมื่อเริ่มพิธีบูชายัญ ขัณฑหาลพราหมณ์หยิบดาบและจะเดินเข้าไปตัดพระศอ (คอ) ของพระจันทกุมาร ขณะนั้นพระนางจันทาเทวี ทรงตั้งจิตอธิษฐานต่อเทวดา เพื่อช่วยเหลือพระราชโอรส เป็นเหตุให้ท้าวสักกะทรงมิอาจอยู่นิ่งเฉย เสด็จมากลางอากาศ พร้อมค้อนเหล็กที่มีไฟลุกโพลง ส่วนพระหัตถ์อีกข้างหนึ่งถือพระขรรค์เพชร ท้าวสักกะทรงขู่พระราชาให้ปล่อยคนและสัตว์ทั้งหมด พระราชาทรงยอมทำตามโดยดี จากนั้นชาวเมืองจึงพากันรุมประชาทัณฑ์พราหมณ์ชั่วจนตายส่วนพระราชาถูกชาวเมืองเนรเทศแล้วกราบทูลเชิญพระจันทกุมารขึ้นครองราชสมบัติแทนสืบไป
; นารทชาดก : ชาติที่ 8 เพื่อบำเพ็ญอุเบกขาบารมี
; วิทูรชาดก : ชาติที่ 9 เพื่อบำเพ็ญสัจจบารมี