ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Lookruk (คุย | ส่วนร่วม)
Reverted 1 edit by 180.183.132.129 (talk) to last revision by InternetArchiveBot (TwinkleGlobal)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 20:
คณะกรรมการศึกษาและเสนอแนะมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบการเงินของประเทศ (ศปร.) สรุปว่า วิกฤตดังกล่าวเกิดจากการก่อหนี้ของเอกชน แต่การดำเนินการของภาครัฐที่ผิดพลาดทำให้วิกฤตบานปลาย<ref name="ศปร">{{cite book |author=คณะกรรมการศึกษาและเสนอแนะมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบการเงินของประเทศ |title=รายงานผลการวิเคราะห์และวินิจฉัยข้อเท็จจริงเกี่ยวกับวิกฤตทางเศรษฐกิจ |date= 2542 |publisher=มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศไทย |isbn=9748663965 |edition=4 }}</ref>{{rp|(9)}} คือ [[ธนาคารแห่งประเทศไทย]] (ธปท.) มีนโยบายเปิดตลาดเงิน พร้อมกับรักษาช่วงอัตราแลกเปลี่ยนที่แคบมาก ปล่อยให้เงินกู้ไหลเข้าประเทศปริมาณมากเกินควบคุม<ref name="ศปร" />{{rp|(9–10)}} ธปท. เลือกใช้วิธีใช้ swap ในการปกป้องค่าเงินบาท ซึ่งเป็นการทุ่มเงินสำรองระหว่างประเทศอย่างขาดความรอบคอบ<ref name="ศปร" />{{rp|(11)}} ทั้งนี้ ธปท. ได้รับคำเตือนจาก[[กองทุนการเงินระหว่างประเทศ]] (ไอเอ็มเอฟ) แล้ว<ref name="ศปร" />{{rp|(10)}}
 
ศปร. ยังมองว่า ธปท. ไม่ได้ดำเนินการเปลี่ยนตัวผู้บริหารของ[[ธนาคารกรุงเทพฯ พาณิชย์การ]] จำกัด ซ้ำมีการเอื้อต่อผู้บริหารเดิมโดยตลอด<ref name="ศปร" />{{rp|(11)}} และกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินมีบทบาทผิดไปจากเจตนารมณ์ตามกฎหมาย บกพร่องในการฟื้นฟูกิจการ<ref name="ศปร" />{{rp|(12)}} จริงหรอ???
{{โครงส่วน}}