ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คำวิเศษณ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 10256676 โดย 1.47.9.86 (พูดคุย) ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 5:
ในภาษาไทย คำวิเศษณ์สามารถใช้ขยายได้ทั้งนาม สรรพนาม กริยา และวิเศษณ์ ในขณะที่ใน[[ภาษาอังกฤษ]]จะแยกคำวิเศษณ์ออกเป็นสองประเภทคือ '''คำคุณศัพท์''' (adjective) ใช้ขยายได้เฉพาะคำนามและสรรพนามเท่านั้น และ[[คำกริยาวิเศษณ์]] (adverbs) ใช้ขยายกริยา คุณศัพท์ และกริยาวิเศษณ์ด้วยกัน
 
== ชนิดของคำวิเศษณ์ ==
== สอนไม่รู้เรื่องอะไรเลยค่ะ ==
คำวิเศษณ์ในภาษาไทยมี 10 ชนิดดังนี้ เช่น
 
บรรทัด 32:
9. ''ประติเษธวิเศษณ์'' ปฏิเสธวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ที่แสดงความปฏิเสธ หรือไม่ยอมรับ เช่น ไม่ ไม่ใช่ มิ มิใช่ ไม่ได้ หามิได้ เป็นต้น เช่น เขามิได้มาคนเดียว หรือ ของนี้ไม่ใช่ของฉัน ฉันจึงรับไว้ไม่ได้
 
10. ''ประติชญาวิเศษณ์'' ปฏิญญาวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ที่ใช้แสดงการขานรับหรือโต้ตอบ เช่น ครับ ขอรับ ค่ะ เป็นต้น เช่น คุณครับมีคนมาหาขอรับ หรือ คุณครูขา สวัสดีค่ะ/ครับ
 
== อ้างอิงจาก ==
== เว็บล่ม ==
* กำชัย ทองหล่อ, '''หลักภาษาไทย''', กรุงเทพฯ :บำรุงสาส์น, 2533.
* นำข้อมูลมาจาก http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/thai04/34/workgroup/p13.htm {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20120823033121/http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/thai04/34/workgroup/p13.htm |date=2012-08-23 }} ภายใต้ CC-BY-NC-SA
* คุณานันต์ พิมพา "หลักภาษาไทย" อุบลราชธานี :บำรุงสาส์น, 2559
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{วิกิตำรา|คำคุณศัพท์}}