ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โลตัส (ห้างสรรพสินค้า)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chumplung (คุย | ส่วนร่วม)
Chumplung (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 50:
ต่อมาในวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2564 ซีพี ออลล์ ได้แจ้งต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่ามติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ร่วมกับที่ประชุมของกลุ่มบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ ได้มีมติให้ [[สยามแม็คโคร|บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน)]] รับโอนกิจการของ บริษัท ซี.พี. รีเทล โฮลดิ้ง จำกัด ทั้งหมด อันประกอบด้วย บริษัท ซี.พี. รีเทล ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (บริษัท เทสโก้ สโตร์ (เอเชีย) จำกัด เดิม), บริษัท โลตัส สโตร์ (ประเทศไทย) จำกัด, บริษัท โลตัส สโตร์ (มาเลเซีย) จำกัด และบริษัท เอก-ชัย ดิสทิบิวชัน ซิสเท็ม จำกัด ซึ่งจะช่วยให้แม็คโครและโลตัสสามารถบริหารงานกันเป็นหนึ่งเดียวมากขึ้น เป็นการลดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของกลุ่มซีพี และยังเป็นการแก้ปัญหาในเรื่องคุณสมบัติการกระจายการถือหุ้นโดยผู้ถือหุ้นรายย่อยของสยามแม็คโคร ซึ่งเกิดจากการเข้าซื้อหุ้นของซีพี ออลล์ พร้อม ๆ กันในคราวเดียว
==="โลตัสส์" ภายใต้กลุ่มซีพี===
ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 โลตัสได้มีงานเปิดตัวการเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ โดยเปลี่ยนโลโก้ใหม่เป็น Lotus’s โดยตัดคำว่า Tesco ออกและเติม ’s เข้าไป พร้อมปรับใช้สีโทนพาสเทลให้ทันสมัยขึ้น โดยนำร่องการเปลี่ยนแปลงนี้ที่สาขาเลียบทางด่วนเอกมัย-รามอินทรา เป็นแห่งแรก<ref>{{Cite web|last=|date=2021-02-15|title=เทสโก้ โลตัส รีแบรนด์ใหม่ สู่ “โลตัส ” (Lotus’s)|url=https://www.prachachat.net/marketing/news-613823|url-status=live|website=ประชาชาติธุรกิจ|language=th}}</ref> และในโอกาสเดียวกัน โลตัส ได้เปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ของเทสโก้ โลตัส เอ็กซ์เพลส และเทสโก้ โลตัส ตลาด บางสาขา ให้เป็น โลตัส โก เฟรช โดยเริ่มที่สาขาเอกชัย 8999 เป็นสาขาแรก ก่อนจะปรับปรุงให้แล้วเสร็จทั้งหมดภายในปี พ.ศ. 2565
 
== รูปแบบสาขา ==