ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
FrameHotep (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ราชการสงคราม: เสียตะนาวศรี
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
FrameHotep (คุย | ส่วนร่วม)
สงครามกับเขมร
บรรทัด 28:
 
=== พระราชสมภพ ===
[[พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)]] ระบุว่าสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมมีพระนามเดิมว่า'''พระศรีสิน'''<ref name="เจิม" /> เป็นพระราชโอรสใน[[สมเด็จพระเอกาทศรถ]]กับพระสนมชาวบางปะอิน<ref name=":0">{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง=มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา|ชื่อหนังสือ=นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย|URL=https://www.tmd.go.th/Thai_king_directories.pdf|จังหวัด=กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่=มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา|ปี=2554|ISBN=978-616-7308-25-8|จำนวนหน้า=264|หน้า=132-5}}</ref> เดิมบวชเป็น[[พระภิกษุ]]อยู่ที่วัดระฆัง มีความรอบรู้ทางด้านพระไตรปิฎกมาก จนได้รับการเลื่อน[[สมณศักดิ์]]เป็น''[[พระพิมลธรรม]]์อนันตปรีชา'' มีผู้ที่นิยมท่านมาก รวมทั้ง[[จมื่นศรีเสารักษ์]]ยังได้ฝากตัวเป็นบุตรบุญธรรมของท่านด้วย
 
=== การขึ้นครองราชย์ ===
บรรทัด 38:
เมื่อญี่ปุ่นเข้ามาค้าขายในอยุธยา ได้ถูกเสนาบดีไม่ให้ความเป็นธรรมในการค้าขาย ญี่ปุ่นจึงไม่พอใจและวางแผนคิดจะบุกพระราชวังและปลงพระชนม์พระเจ้าทรงธรรม พวกญี่ปุ่นจึงได้คุมพลประมาณ 500 คน แล้วยกพลเข้ามาในสนามหลวงเพื่อจะคุมตัวพระเจ้าอยู่หัว ขณะที่พระเจ้าทรงธรรมทรงออกมาฟังพระสงฆ์บอกหนังสือ ณ พระที่นั่งจอมทองสามหลังภายใน[[วัดพระศรีสรรเพชญ์|วัดพระศรีสรรเพชญ]] ขณะนั้นมีภิกษุ[[วัดประดู่ทรงธรรม|วัดประดู่โรงธรรม]]เข้ามา 8 รูป พาเอาพระเจ้าทรงธรรมเสด็จออกมาต่อหน้าญี่ปุ่น เมื่อพาตัวออกไปแล้วญี่ปุ่นก็ร้องว่า''"จะกุมเอาพระองค์แล้วเป็นไรจึงนิ่งเสียเล่า"'' พรรคพวกญีปุ่นต่างก็ทุ่มเถียงกันเป็นโกลาหล แสดงถึงความเก่งกาจของอิทธิฤทธิ์ของพระวัดประดู่โรงธรรม ที่สามารถนำพระเจ้าทรงธรรมออกมาโดยที่ญี่ปุ่นนิ่งเฉยไม่สามารถทำอะไรได้
 
เมื่อฝ่าย[[สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง|พระมหาอำมาตย์]]คุมพลมาปราบญี่ปุ่นสงบเรียบร้อยแล้ว พระเจ้าทรงธรรมจึงให้เป็น '''เจ้าพระยากลาโหมสุริยวงศ์''' พร้อมพระราชทานเครื่องอุปโภคบริโภคเป็นอันมาก และพระราชทานถวายกัปปิยจังหันแก่พระสงฆ์วัดประดู่โรงธรรมเป็นนิจ<ref name=":1">{{อ้างหนังสือ|ชื่อหนังสือ=พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับหลวงประเสริฐ,คำให้การคำกรุงเก่า, คำให้การขุนหลวงหาวัด|พิมพ์ที่=ศรีปัญญา|จำนวนหน้า=800|หน้า=262}}</ref>
 
'''''คำให้การชาวกรุงเก่า''''' ได้ให้รายละเอียดที่แตกต่างคือ พ่อค้าญี่ปุ่นที่เข้ามาขายในอยุธยาลำหนึ่ง ถูกอำมาตย์ทุจริตอ้างว่าพระเจ้าแผ่นดินให้ซื้อสิ่งของต่างๆแล้วจ่ายเงินแดงแก่ญี่ปุ่น พ่อค้าญี่ปุ่นไม่ทันได้พิจารณา เมื่ออำมาตย์ไปแล้วพ่อค้าญี่ปุ่นจึงเอาเงินออกมาดูพบว่าเป็นเงินแดงจึงโกรธว่า พระเจ้าแผ่นดินไม่ได้ตั้งอยู่ในทศพิธราชธรรม จึงใช้ญี่ปุ่นมีฝีมือ 4 คนซ่อนอาวุธลอบเข้าไปในพระราชวัง เมื่อพระเจ้าทรงธรรมเสด็จบอกพระปริยัติธรรมพระสงฆ์อยู่นั้น ญี่ปุ่น 4 คนได้เข้าไปพระราชวังหวังทำร้ายพระเจ้าทรงธรรม แต่ด้วยบุญญาบารมีของพระเจ้าทรงธรรมทำให้ชักอาวุธไม่ออก ข้าราชการเห็นมีพิรุธก็พาจับญี่ปุ่น พระเจ้าทรงธรรมจึงซักถามถึงสาเหตุที่ก่อการและสืบสวนถึงอำมาตย์ที่ทุจริตนั้น แล้วจึงพระราชทานเงินดีแก่นายสำเภาญี่ปุ่นและปล่อยพวกญี่ปุ่นพร้อมไม่ถือเอาโทษ<ref>{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง=|ชื่อหนังสือ=คำให้การชาวกรุงเก่า คำให้การขุนหลวงหาวัด และ พระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับหลวงประเสริฐ|จังหวัด=กรุงเทพมหานคร|พิมพ์ที่=คลังวิทยา|ปี=2510|ISBN=|จำนวนหน้า=472|หน้า=101}}</ref>
 
ตอนปลายรัชสมัยของพระองค์ ขณะที่พระองค์ประชวรหนัก มีพระราชประสงค์จะมอบราชสมบัติให้พระราชโอรสองค์ใหญ่ คือ พระเชษฐาธิราชกุมาร โดยทรงมอบให้[[สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง|ออกญาศรีวรวงศ์]] จางวางมหาดเล็ก ซึ่งเป็นพระญาติที่ไว้วางพระทัยเป็นผู้ดูแลพระเชษฐาธิราชจนกว่าจะได้ครองราชย์ สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมครองราย์ได้ 17 ปี จึงเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2171 ซึ่งเป็นวันที่ชาว[[ฮอลันดา]]ได้บันทึกไว้
== ราชการสงคราม ==
===เสียเมืองตะนาวศรี===
พ.ศ. 2146 เมือง[[ตะนาวศรี]] ถูกกองทัพพม่าเข้าล้อมเมืองจึงส่งหนังสือมาแจ้งให้ยกกองทัพไปช่วยป้องกันเมือง สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมจึงตรัสให้พระยาพิชัยสงครามเป็นแม่ทัพยกไปช่วยป้องกัน แต่เมื่อยกมาถึง[[ด่านสิงขร]]มีนายทัพนายกองเข้ามาแจ้งว่าเมืองตะนาวศรีเสียแก่พม่าแล้ว สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมจึงให้ยกทัพกลับ<ref name=":1" /> ด้วยเหตุนี้กรุงศรีอยุธยาจึงต้องเสีย[[ตะนาวศรี]]อันเป็นเมืองท่าที่สำคัญทางตะวันตกใน[[ทะเลอันดามัน]]
ด้วยเหตุนี้กรุงศรีอยุธยาจึงต้องเสีย[[ตะนาวศรี]]อันเป็นเมืองท่าที่สำคัญทางตะวันตกใน[[ทะเลอันดามัน]]
 
=== สงครามกับกัมพูชา ===
พ.ศ. 2164 [[พระไชยเชษฐาที่ 2]] กษัตริย์แห่งกัมพูชาได้ย้ายราชธานีจาก[[ศรีสุนทร|กรุงศรีสุนทร]] ไปยัง[[อุดงมีชัย|กรุงอุดงมีชัย]] และได้ทำการไม่ส่งบรรณาการไม่ขึ้นกับกรุงศรีอยุธยา ซึ่งกัมพูชาเป็นประเทศราชเขมรมาตั้งแต่รัชสมัย[[สมเด็จพระนเรศวรมหาราช|สมเด็จพระนเรศวร]] สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมทรงยกทัพยกทัพเรือ โดยพระองค์ทรงเป็นแม่ทัพบกให้พระศรีศิลป์เป็นแม่ทัพเรือ พระไชยเชษฐาทรงใช้วิธีเจรจาหน่วงเวลาและรวบรวมกำลังพลเพื่อรบ กองทัพเรือของพระศรีศิลป์เมื่อรอเวลานานก็ขาดแคลนเสบียงจนต้องถอยทัพ พระไชยเชษฐาจึงส่งกองทัพตามตีจนฝ่ายอยุธยาต้องแตกพ่ายไป<ref name=":0" />
 
 
ต่อมา [[กัมพูชา]]และ[[เชียงใหม่]]ซึ่งเคยเป็น[[ประเทศราช]]มาตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช​ต่างก็พากันแข็งเมืองไม่ยอมขึ้นกับกรุงศรีอยุธยา
 
== พระราชกรณียกิจ ==
เส้น 60 ⟶ 62:
=== ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ===
พระองค์ทรงมีสัมพันธ์ไมตรีกับบรรดาต่างประเทศที่เข้ามาติดต่อค้าขายกับไทย ทำให้กรุงศรีอยุธยาเป็นเมืองท่าที่สำคัญในภูมิภาคแถบนี้ของโลก ชาวต่างประเทศ โดยเฉพาะฮอลันดา อังกฤษและญี่ปุ่น ที่เข้ามาติดต่อค้าขายกับไทยตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระเอกาทศรถ พระองค์ก็ได้โปรดเกล้าฯ พระราชทานที่ดินบริเวณปากแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก ริมคลองปลากด เหนือ[[เมืองสมุทรปราการ]] ให้ชาวฮอลันดาตั้งคลังสินค้า และส่วนชาวญี่ปุ่น ปรากฏว่ามีชาวญี่ปุ่นสมัครเข้ารับราชการที่กรุงศรีอยุธยาเป็นจำนวนมาก จนได้มีการจัดตั้งกรมอาสาญี่ปุ่น ขึ้นมาช่วยราชการกรุงศรีอยุธยา ชาวญี่ปุ่นที่มีบทบาทสำคัญในวงการเมืองในรัชสมัยของพระองค์คือ[[ยามาดะ นางามาซะ]] ซึ่งต่อมาได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น''ออกญาเสนาภิมุข''
 
== สวรรคต ==
สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมทรงพระประชวรเมื่อวันพฤหัสบดี เดือนยี่ ขึ้น 6 ค่ำ จ.ศ. 989 หรือราว ธันวาคม พ.ศ. 2170 ขณะที่พระองค์ประชวรหนัก มีพระราชประสงค์จะมอบราชสมบัติให้พระราชโอรสองค์ใหญ่ คือ พระเชษฐาธิราชกุมาร โดยทรงมอบให้[[สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง|ออกญาศรีวรวงศ์]] จางวางมหาดเล็ก ซึ่งเป็นพระญาติที่ไว้วางพระทัยเป็นผู้ดูแลพระเชษฐาธิราชจนกว่าจะได้ครองราชย์ จนอีก 1 เดือนกับอีก 16 วันถัดมาก็เสด็จสวรรคต แต่ชาว[[ฮอลันดา]]ได้บันทึกไว้ว่าพระองค์สวรรคตเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2171 สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมครองราย์ได้ 17 ปี
 
== พระราชสันตติวงศ์ ==