ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบอบนาซี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thastp (คุย | ส่วนร่วม)
Thastp (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1,653:
|isbn=9780340613931
}}</ref>
 
==== การต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ ====
[[ไฟล์:Bolshevism is Jewish!.jpg|thumb|upright=0.9|ใบปิดโฆษณาชวนเชื่อต่อต้านยิวและต่อต้านคอมมิวนิสต์ในนาซีเยอรมนี]]
 
พวกนาซีอ้างว่าลัทธิคอมมิวนิสต์เป็นอันตรายต่อสวัสดิภาพของชาติ เพราะมันมีเจตนาที่จะยกเลิก[[ทรัพย์สินส่วนบุคคล]] สนับสนุน[[การต่อสู้ระหว่างชนชั้น]] ต่อต้าน[[ชนชั้นกลาง]] มุ่งร้ายต่อธุรกิจขนาดเล็ก และเป็น[[อเทวนิยม]]{{sfn|Bendersky|2000|p=72}} ระบอบนาซีปฏิเสธสังคมนิยมที่อยู่บนฐานของการต่อสู้ระหว่างชนชั้นและ[[สมภาคนิยม]]ทางเศรษฐกิจ (economic egalitarianism) และนิยมเศรษฐกิจแบบ[[การจัดช่วงชั้นทางสังคม|มีลำดับชั้น]][[ชนชั้นทางสังคม|ทางสังคม]]บนฐานของคุณธรรมและความสามารถแทน ที่จะรักษา[[ทรัพย์สินส่วนบุคคล]]ไว้และสรรสร้างความสามัคคีซึ่งก้าวข้ามความแบ่งแยกระหว่างชนชั้น{{sfn|Bendersky|2000|p=40}}
 
ใน''[[ไมน์คัมพฟ์]]'' ฮิตเลอร์กล่าวถึงความปรารถนาของเขาที่จะ "ทำสงครามต่อหลักการมากซิสต์ที่ว่ามนุษย์ทั้งปวงนั้นเท่ากัน"<ref>{{cite book
|last=Hitler|first= Adolf
|author-link=อดอล์ฟ ฮิตเลอร์
|title=Mein Kampf
|publisher=Hurst and Blackett ltd.
|date=1939
|page=343
|oclc=502391614
|quote=make war upon the Marxist principle that all men are equal.
}}</ref> เขาเชื่อว่า "คติเรื่องความเท่าเทียมเป็นบาปกรรมต่อธรรมชาติ"<ref>{{harvnb|Bendersky|1985|p=51}}: "the notion of equality was a sin against nature."</ref> ระบอบนาซีค้ำจุน "ความไม่เท่าเทียมกันของมนุษย์" อาทิความไม่เท่าเทียมกันระหว่างเชื้อชาติต่าง ๆ และภายในเชื้อชาติเช่นกัน รัฐนาซีมุ่งที่จะผลักดันปัจเจกชนที่มีความสามารถและความฉลาดเป็นพิเศษเพื่อให้พวกเขาปกครองมวลชนได้{{sfn|Bendersky|1985|p=49}} อุดมการณ์นาซีพึ่งพาแนวคิดอภิชนนิยมและ''[[ฟือเรอร์พรินท์ซีพ]]'' (หลักการท่านผู้นำ) เพื่ออ้างว่าชนกลุ่มน้อยอภิสิทธิชนควรมีหน้าที่เป็นผู้นำเหนือชนส่วนใหญ่ และชนกลุ่มน้อยอภิสิทธิชนเองนั้นควรถูกจัดระเบียบตาม "ลำดับชั้นของความสามารถ" โดยมีผู้นำแต่เพียงหนึ่งเดียว คือ''[[ฟือเรอร์]]''ที่จุดสุดยอด{{sfn|Bendersky|1985|pp=49–50}} หลักการ''ฟือเรอร์พรินท์ซีพ''กล่าวว่าสมาชิกแต่ละคนภายในลำดับชั้นหนึ่งอยู่ในโอวาทของผู้ที่อยู่เหนือเขาโดยสมบูรณ์ และควรถืออำนาจโดยสมบูรณ์เหนือผู้ที่อยู่ต่ำกว่าเขา{{sfn|Bendersky|1985|p=50}}
 
== หมายเหตุ ==