ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบอบนาซี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thastp (คุย | ส่วนร่วม)
Thastp (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มส่วน เศรษฐศาสตร์ แปลจาก enwiki
บรรทัด 1,560:
 
นักประวัติศาสตร์[[ไมเคิล เบอร์ลีห์]] (Michael Burleigh) อ้างว่าระบอบนาซีใช้คริสต์ศาสนาเพื่อประโยชน์ทางการเมือง แต่ในการนั้น "หลักคำสอนพื้นฐานถูกถอนทิ้งไป แต่อารมณ์ร่วมทางศาสนาซึ่งแพร่หลายที่เหลือมียังประโยชน์ของมันอยู่"<ref>{{harvnb|Griffin|2005|p=85}}: "fundamental tenets were stripped out, but the remaining diffuse religious emotionality had its uses"</ref> เบอร์ลีห์กล่าวว่ามโนทัศน์เรื่องจิตวิญญาณของระบอบนาซีเป็น "แบบ[[ลัทธินอกศาสนา|เพแกน]]และบุพกาลโดยรู้ตัวเอง"<ref>{{harvnb|Griffin|2005|p=85}}: "self-consciously pagan and primitive"</ref> นักประวัติศาสตร์[[รอเจอร์ กริฟฟิน]] (Roger Griffin) ปฏิเสธคำกล่าวอ้างว่าระบอบนาซีเป็นแบบเพแกนโดยหลัก โดยชี้ว่าแม้จะมีพวกเพแกนใหม่ที่ทรงอิทธิพลบางคนอยู่ในพรรคนาซี อาทิไฮน์ริช ฮิมเลอร์ และ[[อัลเฟรท โรเซินแบร์ค]] แต่พวกเขาเป็นส่วนน้อยและมุมมองของพวกเขาไม่ได้ส่งอิทธิพลต่ออุดมการณ์นาซีมากไปกว่าเชิงสัญลักษณ์ และชี้ว่าใน''ไมน์คัมพฟ์'' ฮิตเลอร์ประณามลัทธิเพแกนเจอร์แมนิกและกล่าวโทษว่าลัทธิเพแกนของฮิมเลอร์กับโรเซินแบร์คเป็นเรื่อง "ไร้สาระ"{{sfn|Griffin|2005|p=93}}
 
=== เศรษฐศาสตร์ ===
{{หลัก|เศรษฐกิจนาซีเยอรมนี}}
{{ข้อมูลเพิ่มเติม|เศรษฐศาสตร์ของลัทธิฟาสซิสต์}}
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 102-15750, Ausstellung "Deutsches Volk-Deutsche Arbeit".jpg|thumb|upright=1.05|''ด็อยท์เชิสฟ็อลค์-ด็อยท์เชิสอาร์ไบท์'' (''Deutsches Volk–Deutsche Arbeit'') "ประชาชนเยอรมัน แรงงานเยอรมัน" (ค.ศ. 1934) – ตัวอย่างของ[[นวนิยมปฏิกิริยา]] (reactionary modernism)]]
 
นาซีเถลิงอำนาจท่ามกลาง[[ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่]] เมื่ออัตรา[[การว่างงาน]]เข้าใกล้ร้อยละ 30<ref name="DeLong 1997">{{cite web|last=DeLong|first=J. Bradford|title=Slouching Towards Utopia?: The Economic History of the Twentieth Century. XV. Nazis and Soviets|date=February 1997|publisher=University of California at Berkeley|work=econ161.berkeley.edu|url=http://econ161.berkeley.edu/TCEH/Slouch_Purge15.html|archive-url=https://web.archive.org/web/20080511190923/http://econ161.berkeley.edu/TCEH/Slouch_Purge15.html|access-date = 21 April 2013|archive-date=11 May 2008}}</ref> กล่าวโดยทั่วไป นักทฤษฎีและนักการเมืองนาซีกล่าวโทษว่าความผิดพลาดทางเศรษฐกิจในอดีตของเยอรมนีมีเหตุจากอิทธิพลของลัทธิมากซ์ต่อกำลังแรงงาน แผนการชั่วร้ายและฉวยโอกาสที่พวกเขาเรียกว่าพวกยิวนานาชาติ และความอาฆาตพยาบาทของผู้นำทางการเมืองชาติตะวันตกที่เรียกร้อง[[ค่าปฏิกรรมสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] พวกนาซีเสนอการแก้ไขปัญหาด้วยการเมืองแทนแรงจูงใจทางเศรษฐกิจแบบดั้งเดิม เช่นการขจัด[[สหภาพแรงงาน]]จัดตั้งทิ้ง การติดอาวุธครั้งใหม่ (ซึ่งละเมิดสนธิสัญญาแวร์ซาย) และการเมืองเชิงชีววิทยา{{sfn|Overy|1995|pp=1-5}} มีการจัดตั้งหลายโครงการอาชีพที่ถูกออกแบบมาเพื่อการจ้างงานชาวเยอรมันให้สมบูรณ์เมื่อพวกนาซีได้เข้ายึดอำนาจระดับชาติ ฮิตเลอร์ส่งเสริมโครงการสนับสนุนระดับชาติต่าง ๆ อาทิการก่อสร้างระบบทางด่วน''[[เอาโทบาน]]'' การริเริ่มรถยนต์ของประชาชนในราคาที่จับต้องได้ (''[[ฟ็อลคส์วาเกิน บีเทิล|ฟ็อลคส์วาเกิน]]'') และต่อมาพวกนาซีค้ำจุนเศรษฐกิจด้วยธุรกิจและการจ้างงานอันเป็นผลผลิตจากการติดอาวุธทหารครั้งใหม่{{sfn|Overy|1995|pp=7-11}} พวกนาซีได้รับประโยชน์ในช่วงแรกของการดำรงอยู่ของระบอบจากเศรษฐกิจขาขึ้นครั้งแรกหลังภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ และนี่ประกอบกับโครงการ[[การโยธาสาธารณะ|โยธาธิการ]] (public works) ต่าง ๆ โครงการจัดหางาน และโครงการสนับสนุนการซ่อมแซมบ้านเรือน จึงได้ลดการว่างงานลงไปมากถึงร้อยละ 40 ภายในหนึ่งปี พัฒนาการเหล่านี้ลดบรรยากาศทางจิตวิทยาอันไม่พึงประสงค์จากวิกฤตการณ์เศรษฐกิจครั้งก่อน และจูงใจให้ชาวเยอรมันก้าวเดินไปพร้อมกับระบอบ{{sfn|Grunberger|1971b|p=19}} นโยบายทางเศรษฐกิจของนาซีในหลายแง่มุมสืบเนื่องมาจากนโยบายของ[[พรรคประชาชนแห่งชาติเยอรมัน]] ซึ่งเป็นพรรคการเมืองแนว[[อนุรักษ์นิยมชาตินิยม]] (national conservatism) และเป็นพันธมิตรร่วมรัฐบาลกับพรรคนาซี{{sfn|Beck|2008|p=243}} ในขณะเดียวกันที่ประเทศทุนนิยมตะวันตกแห่งอื่นตั้งเป้าให้อุตสาหกรรมตกเป็น[[กรรมสิทธิ์รัฐ]] (state ownership) เพิ่มมากขึ้น พวกนาซีกลับถ่ายโอน[[กรรมสิทธิ์รัฐ|กรรมสิทธิ์สาธารณะ]]ให้กับ[[ภาคเอกชน]] (private sector) และมอบงาน[[บริการสาธารณะ]]บางส่วนให้กับองค์กรเอกชน ซึ่งส่วนใหญ่มีความเกี่ยวข้องกับพรรคนาซี โดยที่เป็นนโยบายโดยเจตนาที่มีจุดประสงค์หลากหลายมากกว่าการขับเคลื่อนทางอุดมการณ์ และเป็นเครื่องมือในการเสริมสร้างแรงสนับสนุนให้กับรัฐบาลและพรรคนาซี<ref name=":2">{{cite journal |last=Bel |first=Germà |date=April 2006 |title=Against the mainstream: Nazi privatization in 1930s Germany |url=http://www.ub.edu/graap/nazi.pdf |journal=Economic History Review |publisher=University of Barcelona |volume=63 |issue=1 |pages=34–55 |doi=10.1111/j.1468-0289.2009.00473.x |ssrn=895247 |access-date=20 September 2020 |hdl-access=free |hdl=2445/11716 |s2cid=154486694|archive-url=https://web.archive.org/web/20110720073011/http://www.ub.edu/graap/nazi.pdf |archive-date=20 July 2011 }}</ref> นักประวัติศาสตร์[[ริชาร์ด โอเวอรี]] (Richard Overy) กล่าวว่า[[เศรษฐกิจสงคราม]]ของนาซีเป็นระบบ[[เศรษฐกิจแบบผสม]]ระหว่าง[[ตลาดเสรี]]กับ[[การวางแผนเศรษฐกิจ|การวางแผนจากส่วนกลาง]] (Economic planning) และบรรยายว่าเป็นระบบเศรษฐกิจที่อยู่กึ่งกลางระหว่าง[[เศรษฐกิจสหภาพโซเวียต|ระบบเศรษฐกิจแบบควบคุมของ]][[สหภาพโซเวียต]] (Economy of the Soviet Union) กับ[[เศรษฐกิจสหรัฐ|ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมของ]][[สหรัฐ]] (Economy of the United States)<ref>{{Cite book |last=Overy |first=Richard |title=Why The Allies Won |publisher=Random House |year=2006 |isbn=978-1-84595-065-1 |location=London}}</ref>
 
== หมายเหตุ ==