ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทันตแพทยศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 10476795 สร้างโดย 184.22.86.80 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Dental surgery aboard USS Eisenhower, January 1990.JPEG|thumb|right|ทันตแพทย์และผู้ช่วยทันตแพทย์กำลังผ่าตัดช่องปากผู้ป่วย.]]
'''ทันตแพทยศาสตร์''' () เป็นสาขาวิชาที่ประเมิน วินิจฉัย ป้องกัน และรักษาโรค ความผิดปกติ หรือภาวะในช่องปาก บริเวณใบหน้าขากรรไกร และ/หรือบริเวณใกล้เคียงและโครงสร้างอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และผลกระทบต่อร่างกายมนุษย์ บุคคลที่ประกอบอาชีพที่กระทำหัตถการดังกล่าวจะเรียกว่า (dentist)
 
'''ทันตแพทยศาสตร์''' ({{lang-en|dentistry}}) เป็นสาขาวิชาที่ประเมิน วินิจฉัย ป้องกัน และรักษาโรค ความผิดปกติ หรือภาวะในช่องปาก บริเวณใบหน้าขากรรไกร และ/หรือบริเวณใกล้เคียงและโครงสร้างอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และผลกระทบต่อร่างกายมนุษย์<ref>[http://www.ada.org/prof/ed/specialties/definitions.asp Dentistry Definitions]{{ลิงก์เสีย|date=กันยายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}, hosted on the American Dental Association website. เข้าถึงเมื่อ [[11 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2550]] This definition was adopted the association's House of Delegates in 1997</ref> บุคคลที่ประกอบอาชีพที่กระทำหัตถการดังกล่าวจะเรียกว่า '''[[ทันตแพทย์]]''' (dentist)
ทันตแพทยศาสตร์เป็นวิชาชีพทางสาธารณสุขที่ผ่านการศึกษาและฝึกฝนจนสำเร็จการศึกษา ซึ่งในประเทศไทยจะได้รับปริญญาบัตรทันตแพทยศาสตรบัณฑิต (ท.บ.) หรือเทียบเท่ากับ Doctor of Dental Surgery (DDS) สำหรับในต่างประเทศยังมีวุฒิการศึกษาอื่น ๆ ที่เทียบเท่า เช่น Doctor of Dental Medicine (DMD) , Bachelor of Dentistry (BDent) , Bachelor of Dental Science (BDSc) , หรือ Bachelor of Dental Surgery/Chirurgiae (BDS หรือ BChD) ในประเทศไทยนอกจากจะต้องผ่านการศึกษาในคณะทันตแพทยศาสตร์เป็นเวลา 6 ปี แล้วจะต้องได้รับอนุมัติใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทันตกรรม ซึ่งออกโดยผ่านการสอบทั้งในภาคทฤษฎีและปฏิบัติ จึงจะสามารถประกอบอาชีพทันตแพทย์(dentist)ในประเทศไทยได้
 
ทันตแพทยศาสตร์เป็นวิชาชีพทางสาธารณสุขที่ผ่านการศึกษาและฝึกฝนจนสำเร็จการศึกษา ซึ่งในประเทศไทยจะได้รับปริญญาบัตรทันตแพทยศาสตรบัณฑิต (ท.บ.) หรือเทียบเท่ากับ Doctor of Dental Surgery (DDS) สำหรับในต่างประเทศยังมีวุฒิการศึกษาอื่น ๆ ที่เทียบเท่า เช่น Doctor of Dental Medicine (DMD) , Bachelor of Dentistry (BDent) , Bachelor of Dental Science (BDSc) , หรือ Bachelor of Dental Surgery/Chirurgiae (BDS หรือ BChD) ในประเทศไทยนอกจากจะต้องผ่านการศึกษาในคณะทันตแพทยศาสตร์เป็นเวลา 6 ปี แล้วจะต้องได้รับอนุมัติใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทันตกรรม ซึ่งออกโดย[[ทันตแพทยสภา]]ผ่านการสอบทั้งในภาคทฤษฎีและปฏิบัติ จึงจะสามารถประกอบอาชีพ[[ทันตแพทย์]](dentist)ในประเทศไทยได้
 
== หลักสูตรทันตแพทยศาสตร์ในไทย ==