ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดิเจี้ยนเหวิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
วรุฒ หิ่มสาใจ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
วรุฒ หิ่มสาใจ (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 21:
 
== ประวัติ ==
จักรพรรดิเจี้ยนเหวินเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิแห่งราชวงศ์หมิงหลังจาก[[จักรพรรดิหงหวู่อู่]] พระราชอัยกาเสด็จสวรรคต พระองค์ได้ทรงใช้พระนามว่า'''ฮุ่ยตี้''' (恵帝) และใช้ศักราชประจำพระองค์ว่า'''เจี้ยนเหวิน''' (建文) ทรงดำเนินนโยบายลดทอนอำนาจของบรรดาหวางต่างๆ อย่างเข้มงวด [[อ๋อง]] 5 องค์ถูกย้ายออกจากเมืองที่ประทับ บางองค์ถูกปลด บางองค์ต้องฆ่าตัวตาย เยี่ยนอ๋องจูตี้เองก็ถูกแพ่งเล็งเนื่องจากเป็นผู้ที่มีบทบาทมากในการศึกในคราวก่อนๆก่อน ๆ
 
อนึ่งก่อนที่จักรพรรดิหงหวู่อู่จะเสด็จสวรรคตนั้น จักรพรรดิเจียนเหวินทรงมีราชโองการห้ามมิให้อ๋องต่างๆต่าง ๆ เข้ามาถวายบังคมพระศพ ด้วยเหตุที่ว่าเกรงจะมีการก่อรัฐประหาร แต่มีอ๋องพระองค์หนึ่งคือเยี่ยนอ๋องไม่ยอมทำตามราชโองการนั้น พร้อมกับนำทหารราชองครักษ์เดินทางมายังเมืองหลวง[[นานกิง]] แต่ด้วยมีราชโองการของจักรพรรดิส่งมาห้าม พระองค์จึงจำเป็นต้องกลับไปที่เมือง[[เป่ย์ผิง]] หลังจากสะสมอาวุธและฝึกซ้อมทหารใช้ชำนาญแล้ว เยี่ยนอ๋องจึงตัดสินพระทัยชิงลงมือยกทัพจากเป่ยผิงลงใต้เผชิญหน้ากับหลานชายพระนัดดา โดยอ้างว่าเพื่อกำจัดเหล่าขุนนาง[[กังฉิน]]สอพลอที่อยู่รอบข้างองค์จักรพรรดิ มีบันทึกว่าก่อนที่พระองค์จะนำกองทัพยกออกจากเมืองนั้น ได้เกิดพายุพัดแรงจนกระทั่งหลังคาวังหักพังเสียหายซึ่งพระองค์กล่าวว่าเป็นเพราะได้เวลาที่พระองค์จะได้เสด็จเข้าไปประทับที่พระราชวังหลังคาเหลืองแล้ว
 
การต่อสู้เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ [[พ.ศ. 1942]] (ค.ศ. 1399) นานถึง 3 ปี ในระยะแรกฝ่ายเยี่ยนอ๋องเป็นฝ่ายเสียเปรียบเนื่องจากฝ่ายจักรพรรดิมีกองทหารปืนไฟ ซึ่งมีอานุภาพสูงทำให้ต้องทรงถอยทัพกลับไปทางเหนือแต่ทหารทางใต้ไม่คุ้นเคยกับอากาศหนาวทางภาคเหนือจึงล้มป่วยเสียชีวิตไปเป็นจำนวนมาก จนกระทั่ง [[พ.ศ. 1945]] (ค.ศ. 1402) กองทัพของพระองค์ก็ได้ยกมาถึงชานกรุงนานกิง ซึ่งกองทัพฝ่ายวังหลวงไม่สามารถต้านทานได้อีกเนื่องจากไม่มีแม่ทัพที่ชำนาญศึกเพราะถูกประหารไปตั้งแต่ปลายรัชกาลของจักรพรรดิหงหวู่อู่ เหล่าขุนนางต่างพากันมาสวามิภักดิ์มากขึ้น และเมื่อถึงวันที่สาม เยี่ยนอ๋องก็สามารถบุกเข้าสู่ภายในเมืองได้ ปรากฏว่าเกิดเพลิงไหม้ภายในวังหลวง และมีผู้พบพระศพของ ฮองเฮา (มเหสี) กับพระราชโอรสของหมิงฮุ่ยตี้ถูกเพลิงครอกภายในวังชั้นในแต่ไม่มีใครพบพระศพของหมิงฮุ่ยตี้ (มีผู้สันนิษฐานว่าพระองค์ลอบหนีออกไปได้และผนวชก่อนที่จะเสียเมือง) ต่อมาอีก 39 ปี ในรัชศกจ้งถ่งเจิ้งถ่ง มีผู้พบพระภิกษุชรารูปหนึ่งที่มีคนจำได้ว่าคือจักรพรรดิฮุ่ยตี้ หมิงอิงจงจึงมีราชโองการให้เชิญพระองค์มาประทับที่กรุงปักกิ่ง ที่ประทับของพระองค์ถูกปิดเงียบและสวรรคตอย่างสงบใน[[กรุงปักกิ่ง]]นั่นเอง
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{เริ่มกล่อง}}
เส้น 39 ⟶ 42:
{{เกิดปี|1920}}
{{ตายปี|1945}}
 
 
[[หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1920]]