ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แม่แบบ:แก้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
E0B8AF (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว
บรรทัด 1:
<span class="noprint plainlinks">[{{fullurl:{{#if:{{{1|}}}|{{{1}}}|{{FULLPAGENAME}}}}|action=edit{{#if:{{{section|}}}|&section={{{section}}}}}{{#if:{{{editintro|}}}|&editintro={{urlencode:{{{editintro}}}|wiki}}}}{{#if:{{{preload|}}}|&preload={{urlencode:{{{preload}}}|wiki}}}}{{#if:{{{preloadtitle|}}}|&preloadtitle={{urlencode:{{{preloadtitle}}}}}}}}} {{{2|แก้}}}]</span><noinclude>{{กึ่งล็อกแม่แบบ|small=yes}}{{doc}}</noinclude>
 
ข้ามไปเนื้อหา
เปิด/ปิดแถบข้าง
 
วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี
ค้นหา
E0B8AF
การเตือน (15)
ประกาศ (13)
รายการเฝ้าดู
 
เครื่องมือส่วนตัว
 
วิธีใช้ตัวสร้างหนังสือ ( ปิดใช้งาน )
เพิ่มหน้านี้เข้าหนังสือของคุณ แสดงหนังสือ (3 หน้า) หน้าแนะนำ
หน้าหลัก
อภิปราย
อ่าน
ดูต้นฉบับ
ดูประวัติ
เลิกเฝ้าดู
03 ธันวาคม 2565, 17:44 – รีเฟรช
ยินดีต้อนรับสู่วิกิพีเดีย
สารานุกรมเสรีที่ทุกคนแก้ไขได้ (อธิบาย)
วิกิพีเดียภาษาไทยมี 151,470 บทความ
ดัชนีคำขึ้นต้น
หมวดหมู่
หน้าทั้งหมด
บทความคัดสรรเดือนนี้
ภาพ HRCT ของทรวงอกของผู้ป่วยโรคนี้
ภาพ HRCT ของทรวงอกของผู้ป่วยโรคนี้
หลอดลมฝอยอักเสบทั่วแบบกระจาย (อังกฤษ: diffuse panbronchiolitis) หรือ DPB เป็นโรคของปอดชนิดหนึ่งที่ยังไม่ทราบสาเหตุ โดยหลอดลมฝอยของผู้ป่วยจะมีการอักเสบที่รุนแรงและเป็นมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยคำว่า "กระจาย" (diffuse) ในที่นี้ หมายถึงการที่ผู้ป่วยจะมีรอยโรคเกิดขึ้นทั่วทั้งบริเวณของปอดทั้งสองข้าง และ "อักเสบทั่ว" (pan) ในที่นี้ หมายถึงเกิดการอักเสบที่ทุกชั้นของหลอดลมฝอย โรคนี้สามารถทำให้เกิดการอักเสบรุนแรงและมีรอยโรคเป็นปุ่มที่หลอดลมฝอยส่วนปลาย เกิดโพรงอากาศอักเสบเรื้อรัง และไอมีเสมหะมากได้
 
สาเหตุของโรคเชื่อว่าสัมพันธ์กับการที่ร่างกายของผู้ป่วยมีความไวหรือขาดภูมิต้านทานต่อการติดเชื้อแบคทีเรียหรือเชื้อไวรัสที่กระตุ้นให้เกิด DPB จากความผิดปกติทางพันธุกรรมที่พบได้บ่อยในเชื้อชาติเอเชียตะวันออก โดยโรคนี้พบมากที่สุดในคนญี่ปุ่น รองลงมาคือคนเกาหลี ภาวะนี้พบได้ในผู้ชายบ่อยกว่าในผู้หญิง ผู้ป่วยมักเริ่มแสดงอาการที่อายุประมาณ 40 ปี เป็นโรคใหม่ที่เพิ่งเป็นที่รู้จักในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และได้รับการตั้งชื่ออย่างเป็นทางการเมื่อ ค.ศ. 1969
 
หากไม่ได้รับการรักษาอาจมีการดำเนินโรคไปจนเกิดหลอดลมโป่งพองได้ ภาวะนี้จะทำให้หลอดลมและหลอดลมฝอยของผู้ป่วยเสียหายอย่างถาวรและขยายขนาดขึ้น เกิดมีเมือกเสมหะขังอยู่ในหลอดลมฝอยได้ การรักษาด้วยยาปฏิชีวนะในกลุ่มแมโครไลด์อย่างอีริโทรมัยซินทุกวันอย่างต่อเนื่องสามารถบรรเทาอาการและเพิ่มระยะเวลารอดชีวิตได้ แต่ยังไม่มีวิธีรักษาให้หายขาด ในระยะสุดท้ายผู้ป่วยโรคนี้อาจมีการหายใจล้มเหลวและโรคหัวใจได้ (อ่านต่อ...)
 
บทความคัดสรรก่อนหน้านี้: สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอับคาเซีย – การออกเสียงคำว่า GIF – ตา (พายุหมุน)
ที่เก็บถาวร – บทความคัดสรรอื่น ๆ
รู้ไหมว่า...
เรื่องน่าสนใจจากบทความล่าสุดและเพิ่งปรับปรุงของวิกิพีเดีย :
อีซาแบลา เมนิง
อีซาแบลา เมนิง
...อีซาแบลา เมนิง (ในภาพ) เป็นชาวบราซิลคนแรกที่ชนะเลิศมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล
...การที่ดัตช์รบแพ้ติรุวิตางกูร์ ซึ่งเป็นราชอาณาจักรในอินเดียใต้ ถือเป็นครั้งแรกที่ยุทธวิธีแบบตะวันตกพ่ายให้กับนักรบพื้นเมืองในเอเชีย
...ในทศวรรษ 1980 ผู้นำโรมาเนีย นิโคไล เชาเชสกู ออกนโยบายรัดเข็มขัด ซึ่งรวมถึงการจำกัดการบริโภคแคลอรีต่อวันด้วยเหตุผลว่า "ชาวโรมาเนียกินมากเกินไป"
...วลี "สาวทเว็นจัง" เป็นวลีที่ใช้ดูถูกผู้หญิงในประเทศเกาหลีใต้ที่ยอมทนรับประทานอาหารราคาถูกเพื่อเอาเงินไปซื้อสินค้าราคาแพง
...ชาวโอกินาวะตอนเหนือมองว่าเทศกาลยุกกะ นุ ฮี เป็นเทศกาลของตอนใต้และตอนกลางของเกาะ โดยพึ่งเผยแพร่ทั่วทั้งเกาะในช่วงกลางสมัยเมจิ
...สำนวน "องุ่นเปรี้ยว" จากนิทานอีสป ใช้กล่าวถึงการดูแคลนสิ่งที่ผู้ดูแคลนไม่อาจเข้าถึงได้
เรื่องที่ผ่านมา – สร้างบทความใหม่ – เสนอบทความ
เรื่องจากข่าว
Jiang Zemin 2002.jpg
เจียง เจ๋อหมิน (ในภาพ) อดีตประธานาธิบดีและเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จีน เสียชีวิต สิริอายุ 96 ปี
อันวาร์ อิบราฮิม จากแนวร่วมแห่งความหวัง ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีมาเลเซียหลังการเลือกตั้งทั่วไปที่ผลการเลือกตั้งเกิดรัฐสภาแขวนแรกของประเทศ
เกิดแผ่นดินไหวบนเกาะชวาของอินโดนีเซีย เป็นผลให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 318 ราย และบาดเจ็บประมาณ 7,000 คน
นาซาปล่อยยานไร้คนขับ อาร์ทิมิส 1 ขึ้นสู่ดวงจันทร์สำเร็จ
องค์การสหประชาชาติประมาณการณ์ว่าประชากรโลกได้มากเกินแปดพันล้านคนแล้ว
ดำเนินอยู่: ฟุตบอลโลก 2022การประท้วงกรณีแมฮ์ซอ แอมีนีการรุกรานยูเครนของรัสเซีย
บุคคลที่เพิ่งเสียชีวิต – เหตุการณ์ปัจจุบัน
วันนี้ในอดีต
3 ธันวาคม: วันคนพิการสากล
Mars polar lander.jpg
พ.ศ. 2447 (ค.ศ. 1904) – นักดาราศาสตร์ ชาลส์ ดิลลอน เพอร์รีน ค้นพบไฮเมเลีย ดาวบริวารไม่ปกติขนาดใหญ่ที่สุดของดาวพฤหัสบดี ณ หอดูดาวลิก ในแซนโฮเซ รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา
พ.ศ. 2502 (ค.ศ. 1959) – ประกาศใช้ธงชาติสิงคโปร์ปัจจุบัน หกเดือนหลังจากประเทศสิงคโปร์ได้รับสิทธิปกครองตนเองในจักรวรรดิอังกฤษ
พ.ศ. 2510 (ค.ศ. 1967) – ในโรงพยาบาลแห่งหนึ่งของเคปทาวน์ แอฟริกาใต้ ทีมศัลยแพทย์หัวใจ นำโดย คริสเตียน บาร์นาร์ด การปลูกถ่ายหัวใจสำเร็จในมนุษย์เป็นครั้งแรกของโลก
พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) – เกิดอุบัติเหตุการรั่วไหลของเมทิลไอโซไชยาเนตและสารเคมีที่เป็นพิษอื่น ๆ จากโรงงานผลิตยาฆ่าแมลงของยูเนียนคาร์ไบด์อินเดีย ในโภปาล ประเทศอินเดีย นับเป็นภัยพิบัติทางอุตสาหกรรมครั้งร้ายแรงที่สุดของโลก
พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) – นาซาขาดการติดต่อกับ มาร์สโพลาร์แลนเดอร์ (ในภาพ) ไม่นานก่อนที่ยานจะเข้าสู่บรรยากาศของดาวอังคาร
ดูเพิ่ม: 2 ธันวาคม – 3 ธันวาคม – 4 ธันวาคม
 
จดหมายเหตุ – รายชื่อบทความวันนี้ในอดีต
 
สารานุกรม
หมวดหมู่:ธรรมชาติ
ธรรมชาติ
หมวดหมู่:ศิลปะ
ศิลปะ
หมวดหมู่:วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
หมวดหมู่:เทคโนโลยี
เทคโนโลยี
หมวดหมู่:ความเชื่อ
ความเชื่อ
หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
หมวดหมู่:สังคม
สังคม
หมวดหมู่:ประเทศไทย
ประเทศไทย
วิกิพีเดีย:สถานีย่อย
สถานีย่อย
ป้ายบอกทาง
ศาลาประชาคม – กระดานข่าว โครงการ ทรัพยากรและกิจกรรมซึ่งครอบคลุมวิกิพีเดียอย่างกว้างขวาง
แผนกช่วยเหลือ – ถามข้อสงสัยเกี่ยวกับการใช้งานวิกิพีเดีย
ปุจฉา-วิสัชนา – ถามข้อสงสัยทั่วไปที่คุณอยากรู้
ข่าวไซต์ – ประกาศ อัพเดต บทความและข้อมูลข่าวเกี่ยวกับวิกิพีเดียและมูลนิธิวิกิมีเดีย
สภากาแฟ – สำหรับอภิปรายเกี่ยวกับวิกิพีเดีย รวมถึงรายงานปัญหาเทคนิคและเสนอนโยบาย
Local Embassy – For Wikipedia-related discussion in languages other than Thai.
ภาษาอื่น
นอกจากภาษาไทยแล้ว วิกิพีเดียยังมีรุ่นภาษาอื่นอีกทั้งหมด 324 ภาษา โดยวิกิพีเดียขนาดใหญ่แสดงรายการด้านล่างนี้
 
1,000,000+ บทความ
English (อังกฤษ)Sinugboanong Binisaya (เซบู)Svenska (สวีเดน)Deutsch (เยอรมัน)Français (ฝรั่งเศส)Nederlands (ดัตช์)Русский (รัสเซีย)Italiano (อิตาลี)Español (สเปน)Polski (โปแลนด์)Winaray (วาไร-วาไร)Tiếng Việt (เวียดนาม)日本語 (ญี่ปุ่น)中文 (จีน)العربية (อาหรับ)Português (โปรตุเกส)Українська (ยูเครน)
250,000+ บทความ
فارسی (เปอร์เซีย)Català (กาตาลา)Српски / Srpski (เซอร์เบีย)Norsk (bokmål) (นอร์เวย์)Bahasa Indonesia (อินโดนีเซีย)한국어 (เกาหลี)Suomi (ฟินแลนด์)Magyar (ฮังการี)Čeština (เช็ก)Srpskohrvatski / српскохрватски (บอสเนีย-โครเอเชีย-มอนเตเนโกร-เซอร์เบีย)Română (โรมาเนีย)Bân-lâm-gú (หมิ่นใต้)Euskara (บาสก์)Türkçe (ตุรกี)مصرى (Maṣri) (อาหรับอียิปต์)Bahasa Melayu (มลายู)Esperanto (เอสเปรันโต)Հայերեն (อาร์มีเนีย)עברית (ฮีบรู)Български (บัลแกเรีย)Dansk (เดนมาร์ก)Нохчийн (เชเชน)
100,000+ บทความ
تۆرکجه (อาเซอร์ไบจานใต้)Slovenčina (สโลวัก)Қазақша (คาซัค)Minangkabau (มีนังกาเบา)Hrvatski (โครเอเชีย)Eesti (เอสโตเนีย)Lietuvių (ลิทัวเนีย)Беларуская (เบลารุส)Ελληνικά (กรีก)Slovenščina (สโลวีเนีย)Gallego (กาลิเซีย)Simple English (อังกฤษอย่างง่าย)Azərbaycanca (อาเซอร์ไบจาน)اردو (อูรดู)Norsk nynorsk (นีนอสก์)हिन्दी (ฮินดี)ქართული (จอร์เจีย)O‘zbek (อุซเบก)Latina (ละติน)Cymraeg (เวลส์)தமிழ் (ทมิฬ)Volapük (โวลาปุก)Asturianu (อัสตูเรียส)Македонски (มาซิโดเนีย)Latviešu (ลัตเวีย)Тоҷикӣ (ทาจิก)
Wikimedia-logo black.svg
วิกิพีเดียดำเนินการโดยมูลนิธิวิกิมีเดีย องค์กรไม่แสวงผลกำไร ผู้ดำเนินการอีกหลายโครงการ :
คอมมอนส์
คอมมอนส์
คลังสื่อเสรี
มีเดียวิกิ
มีเดียวิกิ
การพัฒนาซอฟต์แวร์วิกิ
เมทาวิกิ
เมทาวิกิ
ศูนย์ประสานงานโครงการวิกิมีเดีย
วิกิตำรา
วิกิตำรา
ตำราและคู่มือเสรี
วิกิสนเทศ
วิกิสนเทศ
ฐานความรู้เสรี
วิกิคำคม
วิกิคำคม
แหล่งรวบรวมคำพูดเสรี
วิกิซอร์ซ
วิกิซอร์ซ
เอกสารต้นฉบับเสรี
วิกิสปีชีส์
วิกิสปีชีส์
สารบบอนุกรมวิธานเสรี
วิกิพจนานุกรม
วิกิพจนานุกรม
พจนานุกรมและอรรถาภิธานเสรี
 
40 ภาษา
อนุญาตให้เผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ แบบแสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน และอาจมีเงื่อนไขเพิ่มเติม ดูรายละเอียดที่ ข้อกำหนดการใช้งาน
Wikipedia® เป็นเครื่องหมายการค้าจดทะเบียนของมูลนิธิวิกิมีเดีย องค์กรไม่แสวงผลกำไร
ติดต่อเรา
นโยบายความเป็นส่วนตัวเกี่ยวกับวิกิพีเดียข้อปฏิเสธความรับผิดชอบมุมมองสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ผู้พัฒนาสถิตินโยบายการใช้คุกกี้Wikimedia FoundationPowered by MediaWiki