ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สือดิบผู้จ่อง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ลิงก์ข้ามไปภาษาอื่น
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
 
นอกจากนี้ การนำอักษรจีนมาใช้ปนกับสือดิบก็มีวิธีใช้ต่างกันไป บางครั้งนำมาใช้แทนเสียงโดยไม่คำนึงถึงความหมาย บางครั้งนำมาใช้โดยยึดความหมายแต่อ่านเป็นภาษาจ้วง ตัวอย่างเช่น อักษรจีนที่แปลว่า "ข้าพเจ้า" เมื่อนำมาใช้ในสือดิบจะใช้แต่ความหมาย โดยอ่านออกเสียงว่าเป็นภาษาจ้วงว่า "กู" เป็นต้น
 
== อ้างอิง ==
* เจีย แยนจอง. จากสือดิบผู้จ่องถึงลายสือไทพ่อขุนรามฯ ข้อคิดจากสือจ่อง ''ใน'' คนไทไม่ใช่คนไทยแต่เป็นเครือญาติชาติภาษา. กทม. มติชน. 2549 หน้า 417 - 422.
 
 
{{อักษรภาพ}}
{{ระบบการเขียน}}
[[หมวดหมู่:อักษรโบราณ]]
[[en:Zhuang logogram]]