ผลต่างระหว่างรุ่นของ "น้ำพริก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 6:
== ความหลากหลายของน้ำพริก ==
* '''ภาคกลาง''' เรียกว่า น้ำพริก มักปรุงให้มีรสชาติกลมกล่อม ไม่โดดรสใดรสหนึ่ง เปรี้ยว เผ็ด เค็ม หวาน มีวัตถุดิบและวิธีในการปรุงน้ำพริกที่หลากหลาย เช่น ไข่เค็ม ปลาเค็ม มะดัน มีการนำตำรับแบบชาววังมาเป็นต้นแบบด้วย เช่น น้ำพริกลงเรือ ส่วนน้ำพริกทั่วไปที่รู้จักแพร่หลาย เช่น น้ำพริกกะปิ น้ำพริกปลาทู น้ำพริกไข่เค็ม น้ำพริกตาแดงและน้ำพริกแมงดา
* '''ภาคใต้''' น้ำพริกทางภาคใต้เรียกว่า '''น้ำชุบ''' องค์ประกอบหลักคือ [[พริก]] [[หอม]]และ[[กะปิ]] มีเอกลักษณ์ คือ ไม่ผสม[[น้ำมะนาว]]หรือน้ำตาล จึงมีลักษณะแห้ง ถ้าผสมให้เข้ากันด้วยมือเรียกน้ำชุบหยำหรือน้ำชุบโจร ถ้าตำให้เข้ากันเรียกน้ำชุบเยาะ ถ้าตำแล้วผัดให้สุกเรียกว่าน้ำชุบผัดหรือน้ำชุบคั่วเคี่ยว น้ำชุบของภาคใต้นี้กินกับผักหลายชนิดทั้งผักสดและผักลวก<ref>อาหารการกินแห่งลุ่มทะเลสาบ. สงขลา: เครือข่ายสตรีรอบทะเลสาบสงขลา. 2551. หน้า 104-105</ref> เหตุที่ไม่ผสมน้ำมะนาว เนื่องจาก ชาวประมงในภาคใต้เมื่อออกเรือเป็นเวลาแรมเดือน หามะนาวได้ยาก จึงประกอบน้ำพริกโดยไม่ผสมน้ำมะนาว และเหตุที่เรียกว่า น้ำชุบ คือ การที่นำผักมาชุบกับน้ำพริกแห้ง<ref>{{cite web|url=http://tv.ohozaa.com/hourly-rerun/3/2014-12-19/13/|title=ครัวคุณต๋อย|date=19 December 2014|accessdate=19 December 2014|publisher=ช่อง 3|archive-date=2015-03-31|archive-url=https://web.archive.org/web/20150331222845/http://tv.ohozaa.com/hourly-rerun/3/2014-12-19/13/|url-status=dead}}</ref> และยังมีน้ำพริกที่เรียกว่า เคยเจี้ยน ซึ่งเป็นลักษณะน้ำพริกที่ใช้การผัด เป็นที่นิยมในจังหวัดภูเก็ต
* '''ภาคเหนือ''' เรียกน้ำพริกว่า น้ำพริก มักมีส่วนประกอบหลัก คือ พริก เกลือ หอมแดง กระเทียม เป็นต้น อาจมีส่วนผสมอื่นๆ เช่น กะปิ ถั่วเน่าแข็บ ปลาร้า มะเขือเทศ ข่า ตะไคร้ เพิ่มเข้าไป แล้วแต่จะปรุงเป็นน้ำพริกแต่ละชนิด วิธีการปรุง จะนำส่วนผสมทั้งหมดมาโขลกรวมกันในครก เช่น น้ำพริกหนุ่ม น้ำพริกปลา น้ำพริกกบ<ref>รัตนา พรหมพิชัย, 2542, 3247; ศรีวรรณ จำรัส, สัมภาษณ์, 14 มิถุนายน 2550, ศิริพร โปร่งคำ, สัมภาษณ์, 21 มิถุนายน 2550</ref> นอกจากนี้ยังมีแบบผัดกับน้ำมันอีกด้วย เช่น น้ำพริกอ่อง น้ำพริกน้ำหน่อ<ref>นงเยาว์ วิริยะ,รวมไปถึงแบบคั่วด้วย สัมภาษณ์,เช่น 2น้ำพริกน้ำย้อย กรกฎาคมน้ำพริกคั่วทราย 2550และบาลาฉ่อง
* '''ภาคอีสาน''' น้ำพริกภาคอีสานเรียกได้หลายแบบ ที่สำคัญมีสามอย่างคือ <ref>จริยา เดชกุญชร. อาหารไทยภาคอีสาน. กทม. เพชรในเรือน. 2552</ref>
 
** ป่น เป็นน้ำพริกที่ประกอบด้วยพริกแห้ง [[หอมแดง]] [[กระเทียม]] โขลกผสมกับปลา เห็ด หรือเนื้อสัตว์อื่น ใส่น้ำ[[ปลาร้า]] ลักษณะค่อนข้างข้นเพื่อให้จิ้มผัก
http://lannainfo.library.cmu.ac.th/lannafood/detail_lannafood.php?id_food=80</ref> รวมไปถึงแบบคั่วด้วย เช่น น้ำพริกน้ำย้อย น้ำพริกคั่วทราย และบาลาฉ่อง
** แจ่ว เป็นน้ำพริกพื้นฐานของภาคอีสาน ส่วนผสมหลักคือน้ำปลาร้าผสมกับพริก ใช้จิ้มทั้งผักและเนื้อสัตว์ ต่อมาจึงเพิ่มเครื่องปรุงอื่นเพื่อดับกลิ่นคาวของเนื้อสัตว์ เช่น หอม กระเทียม [[ข่า]] [[ตะไคร้]]
* '''ภาคอีสาน''' น้ำพริกภาคอีสานเรียกได้หลายแบบ ที่สำคัญมีสามอย่างคือ <ref>จริยา เดชกุญชร. อาหารไทยภาคอีสาน. กทม. เพชรในเรือน. 2552</ref>
** ป่น เป็นน้ำพริกที่ประกอบด้วยพริกแห้ง [[หอมแดง]] [[กระเทียม]] โขลกผสมกับปลา เห็ด หรือเนื้อสัตว์อื่น ใส่น้ำ[[ปลาร้า]] ลักษณะค่อนข้างข้นเพื่อให้จิ้มผัก
** แจ่ว เป็นน้ำพริกพื้นฐานของภาคอีสาน ส่วนผสมหลักคือน้ำปลาร้าผสมกับพริก ใช้จิ้มทั้งผักและเนื้อสัตว์ ต่อมาจึงเพิ่มเครื่องปรุงอื่นเพื่อดับกลิ่นคาวของเนื้อสัตว์ เช่น หอม กระเทียม [[ข่า]] [[ตะไคร้]]
** ซุบ เป็นอาหารที่พัฒนามาจากแจ่ว โดยมาจากคำว่า ชุบ ซึ่งหมายถึงจุ่มหรือจิ้ม มาจากการที่นำผักที่ใช้จิ้มแจ่วมาผสมลงในแจ่ว แล้วเติมข้าวคั่ว