ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรมาจิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ufogwl
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 10433544 สร้างโดย 103.240.240.175 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{การเขียนภาษาญี่ปุ่น}}
'''โรมาจิ''' ({{ญี่ปุ่น|ローマ字|Rōmaji||{{IPA-ja|ɾoːma(d)ʑi||Ja-Romaji.oga}} หรือ {{IPA-ja|ɾoːmaꜜ(d)ʑi|}}, {{Lit|อักษรโรมัน}}|lead=yes}}) หมายถึง [[อักษรละติน|อักษรโรมัน (อักษรละติน)yj]] ที่ใช้แทน[[คานะ|อักษรคานะ]]ใน[[ภาษาญี่ปุ่น]]ตามร[[การถอดเป็นอักษรโรมัน|ะบบการถอดเป็นอักษรโรมัน]] (romanization) ซึ่งมีอยู่หลายระบบ ได้แก่ '''ระบบคุนเร''' ([[ภาษาญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]: 訓令式 โรมาจิ: ''Kunrei-shiki'' [[การทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่น|ทับศัพท์]]: คุนเรชิกิ) '''ระบบเฮ็ปเบิร์น''' ([[ภาษาญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]: ヘボン式 โรมาจิ: ''Hebon-shiki'' [[การทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่น|ทับศัพท์]]: เฮบงชิกิ) '''ระบบนิฮง''' ([[ภาษาญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]: 日本式 โรมาจิ: ''Nihon-shiki'' [[การทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่น|ทับศัพท์]]: นิฮงชิกิ) เป็นต้น
 
ในปี ค.ศ. 1954 ([[ยุคโชวะ|ปีโชวะ]]ที่ 29) รัฐบาลญี่ปุ่นได้ประกาศใช้ "'''ข้อกำหนดการถอดเป็นอักษรโรมัน'''" ([[ภาษาญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]: ローマ字のつづり方 โรมาจิ: ''Rōmaji no tsuzurikata'') ประกอบไปด้วยตาราง 2 ตาราง ตารางที่ 1 เป็นวิธีถอดตามระบบคุนเร ส่วนตารางที่ 2 เป็นวิธีถอดแบบอื่น ๆ ที่ไม่ตรงกับระบบคุนเร โดยกำหนดให้ใช้ตารางที่ 1 เป็นหลัก และใช้ตารางที่ 2 เฉพาะกรณีที่ไม่สามารถเปลี่ยนมาใช้ตามระบบที่กำหนดได้ในทันที เช่น เป็นวิธีถอดที่ใช้ในทางการทูต<ref>{{Cite web|title=文化庁 {{!}} 国語施策・日本語教育 {{!}} 国語施策情報 {{!}} 内閣告示・内閣訓令 {{!}} ローマ字のつづり方 {{!}} 訓令,告示制定文|url=https://www.bunka.go.jp/kokugo_nihongo/sisaku/joho/joho/kijun/naikaku/roma/kunrei.html|url-status=live|access-date=2021-10-27|website=www.bunka.go.jp|language=ja}}</ref>
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/โรมาจิ"