ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ครีบยันลอย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ค้ำยันแบบปีก ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น ครีบยันแบบปีก: หน้าพูดคุย
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ค้ำยันแบบปีก" → "ครีบยันแบบปีก" +เก็บกวาดด้วยสคริปต์จัดให้
บรรทัด 1:
[[Imageภาพ:Lincoln cathedral 06 Chapterhouse.jpg|right|thumb|250px|กำแพงค้ำยันแบบปึกนอกหอประชุมสงฆ์ที่[[มหาวิหารลิงคอล์น]]]]
[[Imageภาพ:bath.abbey.flying.buttresses.arp.jpg|thumb|250px|กำแพงค้ำยันแบบปึกที่[[มหาวิหารบาธ]]ที่[[อังกฤษ]] 5 ใน 6 ค้ำยันที่เห็นรับน้ำหนักทางเดินกลาง (nave) อันที่ 6 รับน้ำหนักแขนกางเขน (transept)]]
[[Imageภาพ:Arc.boutant.cathedrale.Amiens.png|thumb|250px|ค้ำยันปีกที่[[มหาวิหารอาเมียง]]]]
 
'''ค้ำครีบยันแบบปีก''' (ภาษาอังกฤษ: flying buttress หรือ arc-boutant) ในทาง[[สถาปัตยกรรม]]มักจะใช้ในการก่อสร้างคริสต์ศาสนสถานเพื่อแบ่งรับน้ำหนักจากหลังคามาสู่ค้ำยันที่กระจายออกไปเป็นระยะๆ ซึ่งอาจจะเป็นทางเดินข้าง (aisle) คูหาสวดมนต์ หรือระเบียงนอกสิ่งก่อสร้าง การใช้ค้ำยันปีกทำให้ทุ่นการรับน้ำหนักหรือแรงกดดันกำแพงที่แต่เดิมต้องรับน้ำหนักและความกดดันทั้งหมด จึงทำให้สามารถทำหน้าต่างได้กว้างขึ้นได้ ซึ่งถ้าทำเช่นนั้นโดยไม่มีค้ำยันปีกก็จะทำให้กำแพงไม่แข็งแรง
 
จุดประสงค์ของค้ำยันปีกก็เพื่อช่วยลดน้ำหนักกดดันของกำแพงทางเดินกลาง แรงกดดันและน้ำหนักส่วนใหญ่จะอยู่ส่วนบนของค้ำยันฉะนั้นเมื่อทำค้ำยันเป็นครึ่งซุ้มโค้งก็ทำให้สามารถรับน้ำหนักได้เท่าๆ กับค้ำยันที่ตัน นอกจากนั้นยังทำให้ค้ำยันเบาขึ้นและราคาถูกกว่าที่จะสร้าง ฉะนั้นกำแพงจึง “บิน” ออกไปจากสิ่งก่อสร้างแทนที่จะเป็นกำแพงทึบจึงเรียกกันว่า “ค้ำยันปีก”