ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป่าแท่น ?
FrameHotep (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงลำดับหัวข้อย่อยบทความ
บรรทัด 17:
 
== พระราชประวัติ ==
 
=== พระราชสมภพ ===
[[ไฟล์:Battle at Pa Than Bridge.jpg|thumb|300px|right|เหตุการณ์เจ้าอ้ายพระยากับเจ้ายี่พระยาทำยุทธหัตถีสิ้นพระชนม์บนคอช้างที่สะพานป่าถ่าน ภาพใน[[พระที่นั่งวโรภาษพิมาน]]]]
สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 มีพระนามเดิมว่าเจ้าสามพระยา เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 3 ในสมเด็จพระอินทราชา หลังจากพระราชบิดาตีได้[[หัวเมืองเหนือ]]แล้ว ก็โปรดให้มีพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ทั้งสอง 3 พระองค์ไปครองเมืองต่าง ๆ คือ เจ้าอ้ายพระยาเป็นผู้ครองเมือง[[สุพรรณบุรี]] และเจ้ายี่พระยาเป็นผู้ครองเมืองแพรกศรีราชา ([[อำเภอสรรคบุรี]]) พระองค์ได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ไปปกครองเมืองชัยนาท ([[พิษณุโลก]]) ซึ่งเป็นหัวเมืองสำคัญทางเหนือ และได้อภิเษกสมรสกับพระราชธิดาของ[[พระมหาธรรมราชาที่ 2]] แห่ง[[กรุงสุโขทัย]]
 
=== การขึ้นครองราชย์ ===
เมื่อสมเด็จพระนครินทราธิราชเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 1967 เจ้าอ้ายพระยาและเจ้ายี่พระยา ต่างยกทัพเข้า[[กรุงศรีอยุธยา]]เพื่อชิงราชสมบัติ ทั้งสองพระองค์ได้กระทำ[[ยุทธหัตถี]]กันที่เชิงสะพานป่าถ่านจนสิ้นพระชนม์ทั้งสองพระองค์ ขุนนางผู้ใหญ่จึงไปกราบทูลเชิญเจ้าสามพระยาขึ้นเสวยราชสมบัติ เฉลิมพระนามว่า'''สมเด็จพระบรมราชาธิราชเจ้า''' แล้วโปรดให้ขุดพระศพพระเชษฐาทั้งสองพระองค์ไปถวายพระเพลิง แล้วสร้าง[[วัดราชบูรณะ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)|วัดราชบูรณะ]]ในที่ถวายพระเพลิงนั้น ส่วนที่กระทำยุทธหัตถีให้ก่อเป็นเจดีย์ไว้ 2 องค์
 
=== สวรรคต ===
พระองค์มีพระราชโอรส 3 พระองค์ ได้แก่
# พระอินทราชา (เจ้านครอินทร์) โปรดให้ไปครอง[[นครธม|เมืองนครหลวง]] จนกระทั่งสิ้นพระชนม์
# เจ้าพญาแพรก โปรดให้ไปครอง[[นครธม|เมืองนครหลวง]] ต่อจากพระอินทราชา แต่ถูก[[พระบรมราชา (เจ้าพระยาญาติ)]] ปลงพระชนม์
# [[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]] ประสูติแต่พระราชเทวีที่เป็นพระราชธิดาของ[[พระมหาธรรมราชาที่ 2]] แห่งกรุงสุโขทัย
 
สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 เสด็จสวรรคต เมื่อ พ.ศ. 1991 พระองค์ครองราชสมบัติรวม 24 ปี โดยสมเด็จพระราเมศวรพระราชโอรสได้สืบราชสมบัติต่อ มีพระนามว่า[[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]]
 
== เหตุการณ์สำคัญอื่น ๆในรัชสมัย ==
== พระราชกรณียกิจ ==
 
=== ด้านราชการสงคราม ===
* พ.ศ. 1981 [[พระพุทธชินราช]]มีน้ำพระเนตรไหลออกมาเป็นโลหิต
==== การศึกกับเขมร ====
* พ.ศ. 1983 เกิดเพลิงไหม้พระราชมนเฑียร
* พ.ศ. 1984 เกิดเพลิงไหม้[[พระที่นั่งตรีมุข]]
 
=== ด้านราชการสงคราม ===
 
==== การศึกกับเขมร ====
ปี พ.ศ. 1974 สมเด็จพระบรมราชาธิราชได้เสด็จยกทัพไปตีเมืองนครหลวง ([[นครธม]]) ในรัชสมัย[[พระธรรมาโศกราช]]ได้ แล้วโปรดให้พระนครอินท์เจ้า พระราชโอรสไปครองเมืองนครหลวงแทนในฐานะเมืองประเทศราช แล้วให้นำพระยาแก้วพระยาไท พร้อมทั้งพระประยูรญาติ เหล่าขุนนาง กับทั้งรูปหล่อพระโคสิงห์สัตว์ต่าง ๆ กลับมากรุงศรีอยุธยาด้วย ทำให้อิทธิพลของเขมรในด้านการปกครอง ประเพณี ตลอดจนงานศิลปะมาปรากฏชัดในอยุธยา ต่อมาพระองค์ได้แต่งตั้งพระอินทราชา (พระนครอินทร์) อยู่ครองกรุงนครธม แต่พระอินทราชาอยู่ปกครองกรุงกัมพูชาได้ไม่นานเท่าใดก็ประชวร สิ้นพระชนม์ พระองค์จึงทรงแต่งตั้งเจ้าพญาแพรกครองแทน
 
==== การศึกกับล้านนา ====
ในปี พ.ศ. 1985 [[พระเจ้าติโลกราช]]แห่งเชียงใหม่ ได้รบกับท้าวช้อยผู้เป็นพระอนุชา ท้าวช้อยแพ้หนีไปอยู่[[อำเภอเทิง|เมืองเทิง]](อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย) เจ้าเมืองเทิงได้มาขอสวามิภักดิ์กับ[[กรุงศรีอยุธยา]]และขอให้ส่งกองทัพไปช่วยรบ สมเด็จพระบรมราชาธิราชจึงทรงยกกองทัพไปตีเมือง[[เชียงใหม่]]ของ[[อาณาจักรล้านนา]]แต่ก็ตีไม่สำเร็จประกอบกับทรงพระประชวรจึงทรงยกกองทัพกลับกรุงศรีอยุธยา
เส้น 40 ⟶ 45:
 
พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับปลีกหมายเลข 223,2/ก.125 กล่าวว่า [[พระบรมราชา (เจ้าพระยาญาติ)|เจ้าอยาด]] บุตรพระรามเจ้า (พระรามาธิบดี (คำขัด)) ที่ถูกส่งไปอยู่จัตุรมุข (พนมเปญ) นั้น ได้ก่อกบฏต่อพระอินทราชา ชักชวนชาวเขมรให้แข็งเมืองขึ้นจนใหญ่โตเป็นมหาพรรค พระอินทราชายกทัพไปตีเจ้าอยาดแตกพ่าย จับเจ้าอยาดส่งไปกรุงศรีอยุธยา แต่ขุนนครไชยกลับแอบปล่อยตัวให้เจ้าอยาดหนีไป เจ้าอยาดเลยระดมกองทัพมหาพรรคชาวเขมรขึ้นใหม่ ในขณะนั้นพระอินทราชาเกิดประชวรสวรรคต เจ้าสามพระยาจึงส่งเจ้าพระยาแพรก ราชบุตรอีกองค์ไปครองพระนครธม และยกทัพใหญ่เข้ามายังกัมพูชาเพื่อปราบพรรคในปี พ.ศ. 1987 จึงน่าจะเป็นเหตุการณ์นี้มากกว่าสงครามกับล้านนา และเมื่อพิจารณาจากชื่อสถานที่ตั้งทัพคือปะทายเขษม คำว่าปะทายน่าจะเพี้ยนมาจากภาษาเขมรคือ บันทาย (បន្ទាយ) ซึ่งมักพบเป็นชื่อสถานที่หรือชื่อเมืองในกัมพูชา
 
== พระราชกรณียกิจ ==
 
=== ด้านการพระศาสนา ===
[[ไฟล์:Prang and stupas of Wat Ratchaburana, Ayutthaya.jpg|left|thumb|วัดราชบูรณะในปัจจุบัน]]
เมื่อสมเด็จพระบรมราชาธิราชเสด็จขึ้นครองราชย์ โปรดให้สถาปนาเจดีย์ใหญ่ สองพระองค์ ไว้ตรงบริเวณที่เจ้าอ้ายพระยาและเจ้ายี่พระยา พระเชษฐาชนช้างสู้รบกันถึงสิ้นพระชนม์ทั้งคู่ ณ ตำบลป่าถ่าน พร้อมกับได้โปรดให้สถาปนา[[วัดราชบูรณะ พระนครศรีอยุธยา|วัดราชบูรณะ]] ประกอบด้วยพระธาตุ และพระวิหาร โดยสร้างไว้ ณ บริเวณที่ถวายพระเพลิงศพเจ้าอ้ายพระยาและเจ้ายี่พระยาและสร้างพระปรางค์ใหญ่ขึ้นเพื่อบำเพ็ญพระราชกุศลแด่สมเด็จพระอินทราชา พระราชบิดาในวาระนั้นด้วย
 
เส้น 54 ⟶ 62:
เพื่อให้หัวเมืองฝ่ายเหนือหรืออาณาจักรสุโขทัยในการดูแลของเมืองพิษณุโลก อยู่ในอำนาจของกรุงศรีอยุธยาโดยสมบูรณ์ ดังนั้นใน พ.ศ. 1981 เมื่อ[[พระมหาธรรมราชาที่ 4]] ได้สวรรคตลง สมเด็จพระบรมราชาธิราชจึงทรงให้รวบรวมหัวเมืองเหนือที่เคยแยกการปกครองเป็นสองเขตนั้น รวมเป็นเขตเดียวกัน แล้วแต่งตั้งพระราชโอรสที่ประสูติแต่พระราชเทวี (ซึ่งเป็นพระราชธิดาใน[[พระมหาธรรมราชาที่ 2]]) เป็น[[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ|สมเด็จพระราเมศวรเจ้า]] ให้ขึ้นไปครองเมืองพิษณุโลกเพื่อกำกับดูแลหัวเมืองเหนือทั้งหมด ทำให้[[ราชวงศ์พระร่วง]]หมดอำนาจในปกครองสุโขทัย [[อาณาจักรสุโขทัย]]จึงค่อย ๆ ถูกรวมกับกรุงศรีอยุธยา
 
== พระราชสันตติวงศ์ ==
== เหตุการณ์สำคัญอื่น ๆ ==
พระองค์มีพระราชโอรส 3 พระองค์ ได้แก่
* พ.ศ. 1981 [[พระพุทธชินราช]]มีน้ำพระเนตรไหลออกมาเป็นโลหิต
# พระอินทราชา (เจ้านครอินทร์) โปรดให้ไปครอง[[นครธม|เมืองนครหลวง]] จนกระทั่งสิ้นพระชนม์
* พ.ศ. 1983 เกิดเพลิงไหม้พระราชมนเฑียร
# เจ้าพญาแพรก โปรดให้ไปครอง[[นครธม|เมืองนครหลวง]] ต่อจากพระอินทราชา แต่ถูก[[พระบรมราชา (เจ้าพระยาญาติ)]] ปลงพระชนม์
* พ.ศ. 1984 เกิดเพลิงไหม้[[พระที่นั่งตรีมุข]]
# [[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]] ประสูติแต่พระราชเทวีที่เป็นพระราชธิดาของ[[พระมหาธรรมราชาที่ 2]] แห่งกรุงสุโขทัย
 
== อ้างอิง ==
 
;=== เชิงอรรถ ===
{{รายการอ้างอิง}}
 
;=== บรรณานุกรม ===
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{อ้างหนังสือ | ผู้แต่ง = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | ชื่อหนังสือ = นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย | url = http://www.sac.or.th/main/pdf/Thai_king_directories.pdf | พิมพ์ที่ = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | จังหวัด = กรุงเทพฯ | ปี = 2554 | ISBN = 978-616-7308-25-8| จำนวนหน้า = 264}}
เส้น 71 ⟶ 81:
== ดูเพิ่ม ==
 
* [[รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย]]
=== หนังสือและบทความ ===
 
*[https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jasu/article/view/238716/163152 ณัฐพล อยู่รุ่งเรืองศักดิ์. “บทบาทของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ในประวัติศาสตร์อยุธยา.” ''วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร'' 32, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2557): 11-31.]
 
=== แหล่งข้อมูลออนไลน์ ===
 
*[[รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย]]
 
{{เริ่มกล่อง}}