ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ginphuaktidfun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Wasbone (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เพิ่มยูอาร์แอล wikipedia.org การแก้ไขแบบเห็นภาพ ลิงก์แก้ความกำกวม
บรรทัด 1:
{{แก้รูปแบบ}}
[[ไฟล์:Total-tax-revenues-gdp.png|thumb|300px|upright=2|รายได้รวมจากภาษีทางตรงและทางอ้อมเป็นส่วนแบ่งของจีดีพี ในปี 2017<ref>{{cite web |title=Total tax revenues |url=https://ourworldindata.org/grapher/total-tax-revenues-gdp?tab=map |website=Our World in Data |access-date=7 March 2020}}</ref>]]
'''ภาษี''' ({{lang-en|tax}}, มาจาก[[ภาษาละติน]] ''taxo'', "ข้าประเมิน") เป็นค่าใช้จ่ายทางการเงินภาคบังคับหรือการจัดเก็บภาษีประเภทอื่น ๆทรัพย์สิน ที่เรียกเก็บจากผู้เสียภาษี(เป็นรายบุคคลหรือนิติบุคคล) ประชาชนโดยองค์กร[[รัฐบาล]] เพื่อใช้นำไปเป็นทุนในการใช้จ่ายภาครัฐของรัฐบาล และรายจ่ายทางสาธารณะต่างต่างๆ ๆ การไม่ชำระ รวมถึงการหลีกเลี่ยงหรือต่อต้านการเก็บภาษีนั้นมีโทษตามกฏหมาย ภาษีประกอบไปด้วยภาษีทางตรงและภาษีทางอ้อมและอาจจะจ่ายเป็นเงินหรือการใช้แรงงานภาระหน้าที่สำหรับพลเมืองที่มีค่าเท่ากัน การเก็บจะต้องเสีย[[ภาษีนั้นเกิดขึ้นครั้งแรกอากรในสมัยอียิปต์โบราณช่วงประมาณประเทศไทย]] 3,000 - 2800 ปีก่อนคริสตกาลและมีบทลงโทษสำหรับผู้หลีกเลี่ยงภาษี
 
วัตถุประสงค์หลักของภาษี คือ เพื่อเป็นเงินทุนสำหรับการใช้จ่ายสาธารณะ เช่น การก่อสร้างระบบ[[โครงสร้างพื้นฐาน]] การให้บริการด้าน[[สาธารณสุข]] [[การศึกษา]] ความปลอดภัยและ[[ความมั่นคง]]ของประชาชน รวมถึงระบบคุ้มครองทางสังคม ( การเกษียณอายุ สวัสดิการ การว่างงาน ความทุพพลภาพ ) ฯลฯ
 
== ประวัติ ==
 
=== สมัยโบราณและสมัยโบราณ ===
รูปแบบภาษีที่เก่าแก่ที่สุดที่มนุษย์ค้นพบหลักฐาน มาจากยุค[[เมโสโปเตเมีย]]โบราณและ[[อียิปต์โบราณ]] โดยหลุมฝังศพของราชวงศ์ทางตอนใต้ของอียิปต์ ค้นพบว่ามีการพบแผ่นจารึกที่มีสัญลักษณ์ คล้ายอักษรอียิปต์โบราณ ซึ่งมีรายการผ้าลินินและน้ำมันที่ส่งไปเป็นเครื่องบรรณาการแด่กษัตริย์ Skorpion ซึ่งการถวาย[[บรรณาการ]]เป็นรูปแบบการเสียภาษีรูปแบบหนึ่ง โดยแผ่นจารึกนี้มีอายุที่วัดค่า C-14 ได้คือ ตั้งแต่ 3300 ถึง 3200 ปีก่อนคริสตกาล<ref>Håland, Randi og [[:no:Gunnar_Håland|Gunnar Håland]] (2000): «I begynnelsen», ''Aschehougs verdenshistorie'' bind 1, Oslo: Aschehoug (ISBN [[:no:Spesial:Bokkilder/8203224547|8203224547]]), s. 84</ref>
 
ในสมัยกรีกโบราณ ระบบภาษีสำหรับชาวกรีกไม่ว่าจะเป็นพลเมืองกรีกหรือคนต่างด้าวที่มีถิ่นพำนักอาศัยในนครรัฐ สามารถทำงานบริการสาธารณะที่จัดตั้งขึ้นโดยนครรัฐ โดยสามารถเสนอบริการแก่นครรัฐกรีกได้ตามฐานะ โดยอาจเป็นการบริการอะไรก็ได้ ตั้งแต่นักแสดง นักดนตรีข้างถนน ไปจนถึงการสร้างเรือรบ<ref>https://en.wikipedia.org/wiki/Liturgy_(ancient_Greece)</ref> ซึ่งจัดเป็นการเสียภาษีรูปแบบหนึ่ง และนอกจากนี้ ยังมีภาษีทรัพย์สินพิเศษในช่วงสงครามที่เรียกว่า Eisphora<ref>[https://www.jstor.org/stable/4493471 The Evolution of the Eisphora in Classical Athens]</ref> ในศตวรรษที่ 5 และ 4 ก่อนคริสต์ศักราช ในอัตราภาษี 1% ของทรัพย์สินทั้งหมด
 
ในสาธารณรัฐโรมันภาษีเป็นแหล่งรายได้ที่สำคัญของรัฐ ในช่วง 200-150 ปีก่อนคริสตกาล ภาษีของประชาชนคิดเป็นสัดส่วนประมาณ 10% ของรายได้ของรัฐทั้งหมด ภาษีในจังหวัดประมาณ 20% และรายได้ภาษีอื่นๆ ประมาณ 7% โดยขนาดของภาษีขึ้นอยู่กับผลลัพธ์ทางเศรษฐกิจของสงคราม เมื่อสาธารณรัฐโรมันสามารถพิชิตมาซิโดเนียและปล้นสะดม ชนเผ่าเอพิรุสในปี 167 ก่อนคริสตกาล สาธารณรัฐโรมันได้รับรายได้จำนวนมาก จนชาวโรมันได้รับการยกเว้นภาษีนานถึง 143 ปี จนเปลี่ยนผ่านยุคสาธารณรัฐโรมันสู่[[จักรวรรดิโรมัน]]<ref>'''^''' Bruun, Patrick (1983): ''Asia møter Europa.'' Aschehougs verdenshistorie Bind 3, Oslo: Aschehoug. (ISBN [[:no:Spesial:Bokkilder/8252520189|8252520189]]), side 148</ref>
 
ในยุคถัดมา มีการอธิบายไว้ใน[[พระคัมภีร์ไบเบิล]]ด้วย ในปฐมกาล 47:24 โยเซฟบอกผู้คนว่า: "จากพืชผลนั้นเจ้าจงถวายหนึ่งในห้าแก่ฟาโรห์ สี่ในห้านั้นเจ้าจงมีไว้สำหรับเมล็ดพันธุ์และอาหารสำหรับตัวเจ้า ครัวเรือนและลูก ๆ ของเจ้า"<ref>[https://www.bible.com/th/bible/2046/GEN.47.24.TH1940 เยเนซิศ 47:24]</ref> ซึ่งตีความว่า ผลผลิต 20% ต้องส่งแก่กษัตริย์อียิปต์ อีก 80% เก็บไว้
 
=== ยุคกรุงสุโขทัย (พ.ศ. 1763 - พ.ศ. 1893) ===
ภาษียุคนั้นเรียกว่า [[wikt:จังกอบ|จังกอบ]] หรือ [[ขนอน]] เป็นภาษีผ่านด่าน โดยมีลักษณะการเก็บ คือ มีของผ่านด่าน 10 ชิ้นชักออก 1 ชิ้น (อัตราภาษี 10%)<ref>[https://www.rd.go.th/3460.html การจัดเก็บภาษีอากรในสมัยกรุงสุโขทัย] (พ.ศ. 1763 - พ.ศ. 1893)</ref> โดยเป็นการเก็บจากการขายสัตว์หรือสินค้าที่นำไปขายที่ต่างๆ หรือนำเข้ามา และการเก็บนั้นมิได้เก็บเป็นเงินตราเสมอไป หรืออาจเก็บเป็นสิ่งของแทนตัวเงิน หรือเก็บตามขนาดพื้นที่ขนาดหรือความยาวของเรือ
 
=== ยุคกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 1893 - พ.ศ. 2310) ===
การจัดเก็บภาษีอากร โดยหน่วยงานที่รับผิดชอบเก็บคือ กรมคลัง ในระบบ[[จตุสดมภ์]] (ระบบการปกครองส่วนกลางภายในกรุงศรีอยุธยาสมัยอยุธยาตอนต้น) มี 4 ประเภท คือ จังกอบ อากร ส่วย และฤชา<ref>[https://www.rd.go.th/3459.html การจัดเก็บภาษีอากรในสมัยกรุงศรีอยุธยา] (พ.ศ. 1893 - พ.ศ. 2310)
 
</ref>
 
* จังกอบ คือ ภาษีผ่านด่าน ที่เรียกเก็บจากการชักส่วนสินค้า
* อากร คือ ภาษีรายได้ ที่เรียกเก็บจากการประกอบอาชีพ หรือ จากทรัพย์สินที่มีอยู่ เช่น อากรไร่ อากรสวน ฯลฯ
* [[ส่วย]] มีหลายความหมาย อาจหมายถึง เครื่องราชบรรณาการที่เรียกจากเมืองประเทศราช การริบทรัพย์ และ ส่วยแทนแรงงาน (การส่งเงินหรือส่งของแทนการมาทำงานให้รัฐ)
* ฤชา คือ ค่าธรรมเนียมที่ทางราชการเรียกเก็บจากราษฎร จากการบริการของรัฐ เช่น ออกโฉนด ฯลฯ
 
ประเทศส่วนใหญ่มีระบบภาษีที่ถูกตั้งไว้เพื่อใช้จ่ายสำหรับสาธารณะ ธรรมดาสามัญ หรือข้อตกลงถึงความต้องการระดับชาติและหน้าที่ของรัฐบาล บางครั้งการเก็บภาษีในอัตราร้อยละคงที่สำหรับรายได้ประจำปีส่วนบุคคล แต่ภาษีมาตราส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับจำนวนเงินรายได้ต่อปี ประเทศส่วนใหญ่ได้เรียกเก็บภาษีมาจากรายได้ส่วนบุคคลและรายได้นิติบุคคล ประเทศหรือหน่วยงานย่อยมักจะกำหนด[[ภาษีความมั่งคั่ง]](wealth taxes) [[ภาษีการรับมรดก]](inheritance taxes) [[ภาษีกองมรดก]](Estate tax) [[ภาษีของขวัญ]](Gift tax) [[ภาษีทรัพย์สิน]](Property tax) [[ภาษีการขาย]](Sales tax) [[ภาษีการใช้]](Use tax) [[ภาษีเงินเดือน]](payroll taxes) และ/หรือภาษีศุลกากร
 
ในแง่เศรษฐกิจ การเก็บภาษีเป็นการโอนย้ายความมั่งคั่งจากครัวเรือนหรือธุรกิจไปยังรัฐบาล สิ่งนี้มีผลกระทบที่สามารถทั้งเพิ่มขึ้นและลดลงของการเติบโตทางเศรษฐกิจและสวัสดิการทางเศรษฐกิจ ดังนั้น การเก็บกาษีจึงเป็นหัวข้อที่มีการถกเถียงกันอย่างมาก
 
== ภาพรวม ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ภาษี"