ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
CommonsDelinker (คุย | ส่วนร่วม)
ลบภาพ "Mauq.png", ซึ่งถูกลบที่คอมมอนส์โดย Polarlys เพราะ w:commons:Commons:Deletion_requests/Template:IRFCA
บรรทัด 12:
*1. '''สัญญาณไฟสี''' มี 2 ระบบ คือ
** ระบบไฟสีสองท่า ใช้ไฟ 2 สี 3 ดวง คือ เขียว + แดง + เขียว ใช้ในเส้นทางที่รถวิ่งด้วยความเร็วต่ำ เสาสัญญาณจะมีเพียงเสาเข้าเขตใน และเสาออก
** ระบบไฟสีสามท่า ใช้ในเส้นทางหลัก โดยจะมีเสาเตือน เสาเข้าเขตใน (มีไฟสีเหลือง) และมีไฟสีขาว 5 ดวงบอกการเข้าประแจของขบวนรถ หรือเป็นจอ LED บอกหมายเลขของทางหลีก
*** ระบบไฟสีสามท่า แบบมีเสาออกตัวนอกสุด
*** ระบบไฟสีสามท่า
บรรทัด 25:
[[ภาพ:Rail_Thonburi_SPRSS.jpg|200px|thumb|สัญญาณหางปลา ที่[[สถานีรถไฟธนบุรี]] ซึ่งได้รับการอนุรักษ์ไว้]]
[[ภาพ:Railway signals.jpg|200px|thumb|สัญญาณหางปลา จัดแสดงที่[[:en:National_Railway_Museum|พิพิธภัณฑ์รถไฟแห่งชาติ]] ประเทศอังกฤษ]]
*2. '''สัญญาณหางปลา''' เป็นอาณัติสัญญาณแบบดั้งเดิม แต่มีความปลอดภัยสูง เช่นเดียวกับระบบอาณัติสัญญาณประจำที่ชนิดไฟสี
*2. '''สัญญาณหางปลา''' ใช้กับสถานีที่อยู่ห่างสถานีรถไฟกรุงเทพ ออกไปประมาณ 500 กิโลเมตร
** '''ก.3''' ประแจกล ชนิดบังคับด้วยเครื่องกลสายลวด พร้อมสัญญาณหางปลา มีเสาแบบสมบูรณ์ ประกอบด้วยเสาเตือน เสาเข้าเขตใน เสาออก และเสาออกตัวนอกสุด
** '''ก.4''' ประแจกล ชนิดบังคับด้วยเครื่องกลสายลวด พร้อมสัญญาณหางปลา มีเสาไม่สมบูรณ์ ประกอบด้วยเสาเข้าเขตใน และเสาออก
** '''ข.''' ประแจกลเดี่ยว พร้อมสัญญาณหางปลาเข้าเขตในตัวเดียว (เป็นประแจมือ พนักงานจะต้องเดินทางไปสับประแจด้วยมือ ถึงที่)
 
*3. '''หลักเขตสถานี'''
** '''ค.''' หลักเขตสถานี จะใช้ในสถานีที่มีจำนวนขบวนรถเดินผ่านน้อย หรือสถานีที่มีการติดตั้งระบบอาณัติสัญญาณชนิดอื่นยังไม่สมบูรณ์ โดยหลักเขตสถานีจะตั้งแทนเสาเข้าเขตใน โดย พขร. จะต้องปฏิบัติตามสัญญาณมือ หรือสัญญาณวิทยุ จากนายสถานี
** '''ง.''' หลักเขตสถานี บอกแทนเสาเข้าเขตใน ใช้สำหรับสถานีที่ไม่มีสัญญาณประจำที่ชนิดหางปลาหรือไฟสี ใช้ในทางรถไฟสายรอง เช่น สายกาญจนบุรี สายนครศรีธรรมราช สายคีรีรัฐนิคม สายแม่กลอง และเส้นทางรถไฟสายหลักบางสถานี
 
* '''สัญญาณตัวแทน''' เป็นสัญญาณที่แสดงท่าของสัญญาณต้นถัดไป ใช้ในกรณีที่เป็นทางโค้งไม่สามารถมองเห็นสัญญาณต้นหน้าในระยะไกลกว่า 1 กิโลเมตร