ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สภาสามัญชนสหราชอาณาจักร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{Short description|สภาล่างแห่งรัฐสภาสหราชอาณาจักร}}
{{กล่องข้อมูล สภานิติบัญญัติ
| สีพื้นหลัง = #066e47
| สีอักษร = #FFFFFF
| ชื่อ = คณะสามัญชนผู้ทรงเกียรติแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือในที่ประชุมรัฐสภา
| ชื่อในภาษาแม่ = The Honourable the Commons of the United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland in Parliament assembled
| ชื่อโดยทับศัพท์เป็นอักษรไทย =
| สภานิติบัญญัติ = รัฐสภาสหราชอาณาจักรชุด ค.ศ. 2019
| coa_pic = House of Commons logo 2020.svg|coa_res=250 px|coa_caption=<br>|logo_pic=Flag House of Commons.svg{{!}}border|logo_res=200px| บรรพยายตรา =
| บรรยาย-ตรา = ธงสภาสามัญชน
| ประเภทสภา = สภาล่าง
| ส่วนหนึ่ง = รัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักร
| องค์ประกอบ =
| ประธาน1_ประเภท = [[ประธานสภาสามัญชน (สหราชอาณาจักร)|ประธานสภา]]
| ประธาน1 = [[ลินด์เซย์ ฮอยล์|เซอร์ ลินด์เซย์ ฮอยล์]]
| พรรค1 =
| การเลือกตั้ง1 = 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 2019
| ประธาน2_ประเภท = [[ประธานคณะกรรมาธิการพิจารณาวิธีการจัดหารายได้]] <br> (รองประธานสภา)
| ประธาน2 = [[เอเลนอร์ เลอิง|เดม เอเลนอร์ เลอิง]]
| พรรค2 = พรรคอนุรักษนิยม
| การเลือกตั้ง2 = 8 มกราคม ค.ศ. 2020
| ประธาน3_ประเภท = [[นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร|นายกรัฐมนตรี]]
| ประธาน3 = [[ริชี ซูแน็ก]]
| พรรค3 = พรรคอนุรักษนิยม
| การเลือกตั้ง3 = 25 กันยายน ค.ศ. 2022
| ประธาน4_ประเภท = [[ผู้นำสภาสามัญชน]]
| ประธาน4 = [[เพนนี มอร์ดันท์]]
| พรรค4 = พรรคอนุรักษนิยม
| การเลือกตั้ง4 = 6 กันยายน ค.ศ. 2022
| ประธาน5_ประเภท = [[ผู้คุมเสียงในสภา|ประธานวิปฝ่ายรัฐบาล]]
| ประธาน5 = [[ไซมอน ฮาร์ท]]
| พรรค5 = พรรคอนุรักษนิยม
| การเลือกตั้ง5 = 25 กันยายน ค.ศ. 2022
| ประธาน6_ประเภท = [[ผู้นำฝ่ายค้าน (สหราชอาณาจักร)|ผู้นำฝ่ายค้าน]]
| ประธาน6 = [[เซอร์ เคียร์ สตาร์เมอร์]]
| พรรค6 = พรรคแรงงาน
| การเลือกตั้ง6 = 4 เมษายน ค.ศ. 2020
| ประธาน7_ประเภท = [[ผู้นำสภาสามัญชน (เงา)|ผู้นำสภาเงา]]
| ประธาน7 = [[ธันแกรม เดบบอแนร์]]
| พรรค7 = พรรคแรงงาน
| การเลือกตั้ง7 = 9 พฤษภาคม ค.ศ. 2021
| ประธาน8_ประเภท = [[ประธานวิปฝ่ายค้าน]]
| ประธาน8 = [[เซอร์ อลัน แคมป์เบลล์]]
| พรรค8 = พรรคแรงงาน
| การเลือกตั้ง8 = 9 พฤษภาคม ค.ศ. 2021
 
| โครงสร้าง1 = House of Commons UK.svg
| โครงสร้าง1_ขนาด = 300px
| term_length = ไม่เกิน 5 ปี{{ref label|reference_name_c|หมายเหตุ ค|หมายเหตุ ค}}
| สมาชิก = 650
| กลุ่มการเมือง1 =
;'''[[รัฐบาลสหราชอาณาจักร|รัฐบาลในสมเด็จฯ]] (357) '''
:{{colorbox|#0087DC|border=darkgray}} [[พรรคอนุรักษนิยม (สหราชอาณาจักร)|พรรคอนุรักษนิยม]] (357)
;'''ฝ่ายค้านอันภักดีในสมเด็จฯ (196) '''
:{{colorbox|#DC241f|border=darkgray}} [[พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)|พรรคแรงงาน]] (196)
::{{colorbox|#DC241f|border=darkgray}} [[พรรคแรงงานและสหกรณ์]] (26)
;'''ฝ่ายค้านอื่น ๆ (88) '''
:{{colorbox|#FFFF00|border=darkgray}} [[พรรคชาติสกอต]] (44)
:{{colorbox|#FDBB30|border=darkgray}} [[พรรคเสรีประชาธิปไตย (สหราชอาณาจักร)|พรรคเสรีประชาธิปไตย]] (14)
บรรทัด 64:
:{{colorbox|#ffd700|border=darkgray}} [[พรรคแนวร่วมแห่งไอร์แลนด์เหนือ]] (1)
:{{colorbox|#99CC33|border=darkgray}} [[พรรคกรีน (สหราชอาณาจักร)|พรรคกรีน]] (1)
:{{colorbox|#DDDDDD|border=darkgray}} [[นักการเมืองอิสระ|อิสระ]] (13) {{ref label|reference_name_b|หมายเหตุ ข|หมายเหตุ ข}}
;'''มีนโยบายไม่เข้าร่วมประชุม'''
:{{colorbox|#033E3E|border=darkgray}} [[พรรคซินน์เฟน]] (7)
;'''ประธานในที่ประชุม'''
:{{colorbox|#000000|border=darkgray}} ประธานสภาฯ (1)
| ระบบการเลือกตั้ง1 = [[ระบบแบ่งเขตคะแนนสูงสุด|แบ่งเขตคะแนนสูงสุด]]
| การเลือกตั้งล่าสุด1 = [[การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2562|การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร ค.ศ. 2019]]
| การเลือกตั้งหนก่อน1 = [[การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2560]]
| ห้องประชุม = House of Commons Chamber 1.png
| ห้องประชุมขนาด = 300px
| next_election1 = ไม่ช้ากว่าวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 2025|redistricting=คณะกรรมการเขตเลือกตั้งแนะนำ สภาองคมนตรีแห่งพระมหากษัตริย์รับรอง| ที่ประชุม = ห้องประชุมสภาสามัญชน<br />[[พระราชวังเวสต์มินสเตอร์]]<br />นครเวสต์มินสเตอร์<br />กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ<br />สหราชอาณาจักร
| เว็บไซต์ = [http://www.parliament.uk/business/commons/ House of Commons]
| หมายเหตุ =
}}
 
บรรทัด 126:
โดยส่วนใหญ่แล้วนั้น ลักษณะต่าง ๆ ของรัฐสภาสหราชอาณาจักรในปัจจุบันมีจุดเริ่มต้นจากรัฐสภาอังกฤษ แต่สนธิสัญญาสหภาพและพระราชบัญญัติสหภาพทั้งสองฉบับที่ให้สัตยาบันต่อสนธิสัญญานั้นทำให้มีรัฐสภาแห่งบริเตนใหญ่เพื่อมาแทนที่รัฐสภาอังกฤษและรัฐสภาสกอตแลนด์ โดยเพิ่มสมาชิกรัฐสภา 45 คนและขุนนาง 16 คนเพื่อเป็นการให้สกอตแลนด์มีเสียงในสภา หลังจากนั้นได้มีพระราชบัญญัติร่วมว่าด้วยสหภาพ ค.ศ. 1800 ทำให้รัฐสภาไอร์แลนด์ถูกยกเลิกและเพิ่มสมาชิกรัฐสภาจากไอร์แลนด์จำนวน 100 คน ทำให้เกิดรัฐสภาสหราชอาณาจักรแห่งบริเตนและไอร์แลนด์เหนือ
 
คำว่า ''common'' หรือ ''commune'' ในภาษาอังกฤษสมัยกลางซึ่งนำมาจาก ''commune'' ในภาษาแองโกล-นอร์มัน มีความหมายว่า "เป็นสาธารณะ" หรือ "โดยทั่วไป" เมื่อใช้เป็นคำวิเศษณ์ และเมื่อใช้เป็นคำนามจะมีความหมายว่า "องค์กรของบุคคลใด ๆ ซึงเป็นชุมชนหรือมีความคล้ายคลึงกัน" เมื่อใช้เป็นคำพหูพจน์มีความหมายว่า "ประชาชนทั่วไป หรือบุคคลที่อยู่ชนชั้นต่ำกว่าเมื่อเทียบกับผู้มียศถาบรรดาศักดิ์"<ref>''[[Oxford English Dictionary]].'' Second edition, volume III: ''Cham – Creeky.'' Clarendon, Oxford 1989, pp.&nbsp;564–567 (article ''common, a.''), 567 (article ''common, sb.'') and 572&nbsp;seq. (article ''commons, sb.&nbsp;pl.'').</ref> ซึ่งคำนี้ยังมีการใช้ในปัจจุบัน โดยมีรูปแบบเป็นวลีภาษาแองโกล-นอร์มันว่า ''soit baillé aux communes (let it be sent to the commons; ให้ได้ส่งไปยังสภาสามัญชน) '' เมื่อมีการส่งร่างพระราชบัญญัติจากสภาสามัญชนไปยังสภาขุนนาง<ref>[https://publications.parliament.uk/pa/ld/ldcomp/compso2010/ldctso23.htm Companion to Standing Orders].</ref>
 
ในปี ค.ศ. 1920 นักประวัติศาสตร์ อัลเบิร์ต พอลลาร์ด มีมุมมองที่แตกต่างเกี่ยวกับต้นกำเนิดของคำนี้ เขาเห็นด้วยว่า ''commons'' มีต้นกำเนิดมาจาก ''commune'' ในภาษาแองโกล-นอร์มัน แต่เห็นว่ามีความหมายที่เกี่ยวข้องกับการรวมกลุ่มของประชาชนหรือการแบ่งเขตเทศมณฑล<ref>{{cite book|last=Pollard|first=A.F.|url=https://archive.org/details/in.ernet.dli.2015.24781|title=The Evolution of Parliament|publisher=Longmans|year=1920|pages=[https://archive.org/details/in.ernet.dli.2015.24781/page/n131 107]–08|quote=Not that the house of commons was ever that house of the common people which it is sometimes supposed to have been. For "commons" means "communes"; and while "communes" have commonly been popular organizations, the term might in the thirteenth and fourteenth centuries be applied to any association or confederacy.|author-link=A. F. Pollard}}</ref> ทั้งนี้ พจนานุกรมภาษาอังกฤษออกซ์ฟอร์ดสามารถยืนยันได้แค่ความหมายที่พอลลาร์ดสนับสนุนตั้งแต่ศตวรรษที่ 19 และ 20 เป็นต้นไป และไม่ได้มีการกล่าวถึงแหล่งที่อ้างถึงความหมายอื่นในช่วงยุคกลางตอนปลาย นั่นคือช่วงเวลาที่มีการจัดตั้งสภาสามัญชนนั่นเอง<ref>''Oxford English Dictionary.'' Second edition, volume III: ''Cham – Creeky.'' Clarendon, Oxford 1989, p.&nbsp;576 (article ''commune, sb.'').</ref>
บรรทัด 256:
{{note label|reference_name_a|หมายเหตุ ก|หมายเหตุ ก}} ชื่ออย่างเป็นทางการคือ '''คณะสามัญชนผู้ทรงเกียรติแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือในที่ประชุมรัฐสภา''' หรืออีกแบบคือ '''อัศวิน ประชาชน และพลเมืองผู้ทรงเกียรติแห่งสภาสามัญชนสหราชอาณาจักรแห่งบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือในที่ประชุมรัฐสภา'''</br>
{{note label|reference_name_b|หมายเหตุ ข|หมายเหตุ ข}} สมาชิกสามารถได้รับการรับเลือกเป็นสมาชิกรัฐสภาอิสระหรือออกจากพรรคการเมืองที่สังกัดตอนได้รับการเลือกตั้ง สมาชิกรัฐสภาที่ถูกสั่งพักจากพรรคที่ตนสังกัดให้ถือว่าเป็นอิสระเช่นกัน ขณะนี้ไม่มีสมาชิกรัฐสภาอิสระที่ลงสมัครรับเลือกตั้งในนามอิสระ และไม่มีสมาชิกรัฐสภาอิสระที่ได้รับการเลือกตั้งในการเลือกตั้งทั่วไป ค.ศ. 2019</br>
{{note label|reference_name_c|หมายเหตุ ค|หมายเหตุ ค}} กฎหมายที่ผ่านโดยรัฐสภาในปัจจุบันให้สภาสามัญชนดำรงวาระได้นานสุด 5 ปี แต่เนื่องจาก[[หลักอำนาจอธิปไตยของรัฐสภาในสหราชอาณาจักร|รัฐสภามีอำนาจอธิปไตยในตนเอง]] จึงทำให้รัฐสภาขยายวาระของตนเองได้ตามที่ต้องการ<ref>{{cite document| title= The definition of Parliament after Jackson: Can the life of Parliament be extended under the Parliament Acts 1911 and 1949? | author= Christopher Forsyth | date= 2011 | publisher= Oxford University Press and New York University School of Law }}</ref> ครั้งล่าสุดที่รัฐสภาขยายวาระของตนเองคือเมื่อ[[สงครามโลกครั้งที่ 2สอง]] เมื่อรัฐสภาลงมติขยายวาระของตนเองหลายครั้งจนสงครามจบลง ทำให้รัฐสภาดำรงวาระ 10 ปีจากปกติ 5 ปี</br>
{{note label|reference_name_d|หมายเหตุ ง|หมายเหตุ ง}} คนอื่น ๆ ที่กล่าวถึงคือ [[เจมส์ คัลลาฮาน]] (แพ้การเลือกตั้งครั้งถัดไป) [[จอห์น เมเจอร์]] (ชนะการเลือกตั้งครั้งถัดไป) [[กอร์ดอน บราวน์]] (แพ้การเลือกตั้งครั้งถัดไป) [[เทรีซา เมย์]] (ชนะการเลือกตั้งครั้งถัดไป) และ [[บอริส จอห์นสัน]] พวกเขาเริ่มดำรงตำแหน่งหลังจาก [[แฮโรลด์ วิลสัน]] [[มาร์กาเรต แทตเชอร์]] [[โทนี แบลร์]] [[เดวิด แคเมอรอน]] และเทรีซา เมย์</br>
{{note label|reference_name_e|หมายเหตุ จ|หมายเหตุ จ}} ก่อนปี ค.ศ. 1965 พรรคอนุรักษนิยมไม่มีกลไกเลือกหัวหน้าพรรคใหม่อย่างเป็นทางการ ในปี ค.ศ. 1957 เมื่อแอนโทนี อีเดนลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีโดยที่ไม่ได้แนะนำผู้ที่ให้มาแทนที่เขานั้น พรรคไม่สามารถเลือกผู้ให้เป็นหัวหน้าพรรคต่อได้ สมเด็จพระราชินีนาถจึงต้องแต่งตั้งแฮโรลด์ แมคมิลแลนเป็นนายกรัฐมนตรีหลังจากได้รับการสนับสนุนจากคณะรัฐมนตรี