ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดิกวังซฺวี่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZeroSixTwo (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนการเรียงลำดับในหมวดหมู่:จักรพรรดิจีนที่ถูกปลงพระชนม์ ให้เรียงด้วย กวังซฺวี่ด้วยฮอทแคต
บรรทัด 70:
อย่างไรก็ตามสภาพสังคมจีนในขณะนั้นยังเป็นแบบนับถือลัทธิขงจื้ออยู่และการปฏิรูปครั้งนี้ยังมีความขัดแย้งไปถึงพระนางซูสีไทเฮาด้วย ผู้ซึ่งว่าราชการหลังม่านอยู่ในขณะนั้น ข้าราชการหัวอนุรักษนิยมหลายคนไม่พอใจในการปฏิรูปครั้งนี้ และได้ไปร้องทุกข์กับพระนางซูสีไทเฮา พระนางทรงรู้ดีว่าไม่มีทางที่จะทำให้การปฏิรูปของพระจักรพรรดิหยุดลงได้ มีเพียงทางเดียวเท่านั้นคือการรัฐประหารยึดพระราชอำนาจ สมเด็จพระจักรพรรดิทรงทราบถึงแผนการของพระนางจึงได้ทำการปรึกษากับ คัง โหย่วเหวย และคณะปฏิรูป และพวกเขาได้ตัดสินใจที่จะใช้กองทัพของ [[หยวน ซื่อไข่]] ซึ่งเป็นกองทัพที่ทันสมัยในขณะนั้นถึงแม้ว่าจะมีทหารประจำการเพียง 6000 นายเท่านั้น และพระนางซูสีไทเฮาก็ได้เรียกใช้ทัพของ [[ยงลู่]] จากเมือง[[เทียนสิน]]
 
ยงลู่นั้นยังเป็นพันธมิตรกับนายพลต๋ง ฟู่เสียง ซึ่งมีกำลังพล 10000 นาย จากกองกำลังมุสลิมกานสู ซึ่งเป็นทหารของราชสำนัก ซึ่งประกอบไปด้วน นายพล หม่า เฟิงสูและนายพลหม่า ฝูลู่ ซึ่งตั้งทัพอยู่ในบริเวณกรุงปักกิ่งและโจมตีชาวต่างชาติและชาวตะวันตกอยู่เป็นประจำ พวกเขาอยู่ฝ่ายอนุรักษนิยมของพระนางซูสีไทเฮาระหว่างการรัฐประหาร พวเขามีปืนยาวของตะวันตกและมีปืนใหญ่ที่ทันสมัย ซึ่งก็แสดงให้เห็นว่าฝ่ายอนุรักษนิยมของพระนางซูสีไทเฮาก็ยังมีส่วนหนึ่งที่พยายามจะใช้เทคโนโลยีของชาวตะวันตก<ref name="Ann Heylen 2004 203">{{cite book|url=httphttps://books.google.com/books?id=WSl5cl_wt24C&pg=PA203&dqq=ma+fuxiang+gelaohui&hlpg=en&ei=14QbTOG_CoGClAeewrW_CQ&sa=X&oi=book_result&ct=result&resnum=2&ved=0CDUQ6AEwAQ#v=onepage&q=ma%20fuxiang%20gelaohui&f=falsePA203|title=Chronique du Toumet-Ortos: looking through the lens of Joseph Van Oost, missionary in Inner Mongolia (1915–1921)|author=Ann Heylen|year=2004|publisher=Leuven University Press|location=Leuven, Belgium|page=203|isbn=90-5867-418-5|pages=409|accessdateaccess-date=2010-06-28}}</ref><ref>{{cite book|url=httphttps://books.google.com/books?id=z2japTNPRNAC&pg=PA514&dqq=dong+fuxiang+catholic&hlpg=en&ei=L36STIy8BcL6lwep_4WpCg&sa=X&oi=book_result&ct=result&resnum=1&ved=0CCsQ6AEwAA#v=onepage&q=dong%20fuxiang%20catholic&f=falsePA514|title=Han-Mongol encounters and missionary endeavors: a history of Scheut in Ordos (Hetao) 1874–1911|author=Patrick Taveirne|year=2004|publisher=Leuven University Press|location=Leuven, Belgium|page=514|isbn=90-5867-365-0|pages=684|accessdateaccess-date=2010-06-28}}</ref>
 
ศาสตราจารย์ชาวไต้หวัน เล่ย เซียเซิง (雷家聖) เปิดเผยงานวิจัยใหม่เกี่ยวกับแผนการรัฐประหาร ว่าแท้จริงแล้วสมเด็จพระจักรพรรดิกวังซวีอาจถูกดึงเข้าไปในกับดักที่วางไว้โดยนักปฏิรูป คัง โหย่วเหวย ซึ่งมิชชั่นนารีชาวอังกฤษและอดีตนายกรัฐมนตรีของญี่ปุ่น [[อิโต ฮิโระบุมิ]] ใช้อุบายล่อหลอกคัง เพื่อที่จะให้ตกลงยกอำนาจอธิบไตยของจีนให้ อิโต และเอกอัครราชทูตอังกฤษ เซอร์ ซี. แมคโดนัล กล่าวว่าจริง ๆ แล้วนักปฏิรูปเป็นผู้ทำความเสียหายแก่การพัฒนาสู่ความทันสมัยของจีน ส่วนพระนางซูสีไทเฮานั้นก็ได้ศึกษาแผนการปฏิรูป และได้ตัดสินพระทัยที่จะยุติแผนการนั้นและรักษาประเทศจีนจากการควบคุมของต่างชาติ<ref>Lei Chia-sheng, ''Liwan kuanglan: Wuxu zhengbian xintan'' 力挽狂瀾:戊戌政變新探 [Containing the furious waves: a new view of the 1898 coup], Taipei: Wanjuan lou 萬卷樓, 2004.</ref>