ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สภาสามัญชนสหราชอาณาจักร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Yanathip Oang (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
KrebsLovesFiesh (คุย | ส่วนร่วม)
แปลเนื้อหาจากบทความภาษาอังกฤษ
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล สภานิติบัญญัติ
| สีพื้นหลัง = #006400066e47
| สีอักษร = #FFFFFF
| ชื่อ = สภาคณะสามัญชนผู้ทรงเกียรติแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือในที่ประชุมรัฐสภา
| ชื่อในภาษาแม่ = HouseThe ofHonourable the Commons<br> of the United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland in Parliament assembled
| ชื่อโดยทับศัพท์เป็นอักษรไทย =
| สภานิติบัญญัติ = สภารัฐสภาอังกฤษชุดที่ 58พ.ศ. 2562
|coa_pic=House of Commons of the United Kingdom.svg|coa_res=300 px|coa_caption=<br>|logo_pic=Flag House of Commons.svg{{!}}border|logo_res=200px| บรรพยายตรา =
| ภาพตรา =House of Commons of the United Kingdom.svg
| ขนาดบรรยาย-ตรา =300px ธงสภาสามัญชน
| บรรพยายตรา =
| บรรยาย-ตรา = <!-- used in older templates, use coa_alt -->
| ประเภทสภา = สภาล่าง
| ส่วนหนึ่ง = รัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักร
| องค์ประกอบ =
| ประธาน1_ประเภท = [[ประธานสภาสามัญชน (สหราชอาณาจักร)|ประธานสภา]]
| ประธาน1 = [[ลินด์เซย์ ฮอยล์|เซอร์ ลินด์เซย์ ฮอยล์]] MP
| พรรค1 =
| การเลือกตั้ง1 = 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562
| ประธาน2_ประเภท = [[ผู้ควบคุมกฎระเบียบสภา]]
| ประธาน2 = [[เอเลนอร์ เลอิง|เดม เอเลนอร์ เลอิง]] MP
| พรรค2 = พรรคอนุรักษนิยม
| การเลือกตั้ง2 = 8 มกราคม พ.ศ. 2563
| ประธาน3_ประเภท = [[นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร|นายกรัฐมนตรี]]
| ประธาน3 = [[ลิซ ทรัสส์]] MP
| พรรค3 = พรรคอนุรักษนิยม
| การเลือกตั้ง3 = 6 กันยายน พ.ศ. 2565
| ประธาน4_ประเภท = [[ผู้นำสภาสามัญชน]]
| ประธาน4 = [[เพนนี มัรดันท์]] MP
| พรรค4 = พรรคอนุรักษนิยม
| การเลือกตั้ง4 = 6 กันยายน พ.ศ. 2565
| ประธาน5_ประเภท = [[ผู้นำฝ่ายค้าน (สหราชอาณาจักร)ผู้คุมเสียงในสภา|ผู้นำประธานวิปฝ่ายค้านรัฐบาล]]
| ประธาน5 = [[เซอร์เวนดี เคียร์ สตาร์เมอร์มอร์ตัน]] MP
| พรรค5 = พรรคแรงงานอนุรักษ์นิยม
| การเลือกตั้ง5 = 46 เมษายนกันยายน พ.ศ. 25632565
| ประธาน6_ประเภท = [[ผู้นำสภาสามัญชนฝ่ายค้าน (เงาสหราชอาณาจักร)|ผู้นำสภาเงาฝ่ายค้าน]]
| ประธาน6 = [[ธันแกรมเซอร์ เดบบอแนร์เคียร์ สตาร์เมอร์]] MP
| พรรค6 = พรรคแรงงาน
| การเลือกตั้ง6 = 94 พฤษภาคมเมษายน พ.ศ. 25642563
| ประธาน7_ประเภท = [[ผู้นำสภาสามัญชน (เงา)|ผู้นำสภาเงา]]
| ประธาน7 = [[ธันแกรม เดบบอแนร์]]
| พรรค7 = พรรคแรงงาน
| การเลือกตั้ง7 = 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2564
| ประธาน8_ประเภท = [[ประธานวิปฝ่ายค้าน]]
| ประธาน8 = [[เซอร์ อลัน แคมป์เบลล์]]
| พรรค8 = พรรคแรงงาน
| การเลือกตั้ง8 = 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2564
 
| โครงสร้าง1 = UK House of Commons 2019UK.svg
 
| โครงสร้าง1 = UK House of Commons 2019.svg
| โครงสร้าง1_ขนาด = 300px
|term_length=ไม่เกิน 5 ปี| สมาชิก = '''650''' ที่นั่ง
| กลุ่มการเมือง1 = สภาสามัญชน'''[[รัฐบาลสหราชอาณาจักร|รัฐบาลในสมเด็จฯ]] (357)'''
:{{colorbox|#FDBB300087DC|border=darkgray}} [[พรรคเสรีประชาธิปไตยอนุรักษนิยม (สหราชอาณาจักร)|พรรคเสรีประชาธิปไตยอนุรักษนิยม]] (13357)
;'''ประธานสภา'''
;'''ฝ่ายค้านในสมเด็จฯ (196)'''
:{{colorbox|#000000|border=darkgray}} ประธานสภาฯ (1)
;''':{{colorbox|#DC241f|border=darkgray}} [[รัฐบาลพรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)|ฝ่ายรัฐบาลพรรคแรงงาน]]''' (196)
::{{colorbox|#0087DC241f|border=darkgray}} [[พรรคอนุรักษนิยม (สหราชอาณาจักร)|พรรคอนุรักษนิยมแรงงานและสหกรณ์]] (36126)
;'''พรรคฝ่ายค้านอื่น ๆ (88)'''
:{{colorbox|#DC241fFFFF00|border=darkgray}} [[พรรคแรงงาน (สหราชอาณาจักร)|พรรคแรงงานชาติสกอต]] (19944)
:{{colorbox|#FDBB30|border=darkgray}} [[พรรคเสรีประชาธิปไตย (สหราชอาณาจักร)|พรรคเสรีประชาธิปไตย]] (14)
;'''พรรคร่วมฝ่ายค้าน'''
:{{colorbox|#FFFF00|border=darkgray}} [[พรรคชาติสกอต]] (45)
:{{colorbox|#FDBB30|border=darkgray}} [[พรรคเสรีประชาธิปไตย (สหราชอาณาจักร)|พรรคเสรีประชาธิปไตย]] (13)
:{{colorbox|#D46A4C|border=darkgray}} [[พรรคสหภาพประชาธิปไตย]] (8)
:{{colorbox|#008142|border=darkgray}} [[ไพลด์คัมรี|พรรคชาติเวลส์]] (3)
เส้น 58 ⟶ 61:
:{{colorbox|#ffd700|border=darkgray}} [[พรรคแนวร่วมแห่งไอร์แลนด์เหนือ]] (1)
:{{colorbox|#99CC33|border=darkgray}} [[พรรคกรีน (สหราชอาณาจักร)|พรรคกรีน]] (1)
:{{colorbox|#DDDDDD|border=darkgray}} [[นักการเมืองอิสระ|อิสระ]] (613)
;'''กลุ่มไม่เข้าร่วมประชุม'''
:{{colorbox|#033E3E|border=darkgray}} [[พรรคซินน์เฟน]] (7)
;'''ประธานสภาในที่ประชุม'''
:{{colorbox|#000000|border=darkgray}} ประธานสภาฯ (1)
| ระบบการเลือกตั้ง1 = [[ระบบแบ่งเขตคะแนนสูงสุด|แบ่งเขตคะแนนสูงสุด]]
| การเลือกตั้งล่าสุด1 = [[การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2562]]
เส้น 66 ⟶ 71:
| ห้องประชุม = House of Commons Chamber 1.png
| ห้องประชุมขนาด = 300px
|next_election1=ไม่ช้ากว่าวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2568|redistricting=คณะกรรมการเขตเลือกตั้งแนะนำ สภาองคมนตรีแห่งพระมหากษัตริย์รับรอง| ที่ประชุม = ห้องประชุมสภาสามัญชน<br />[[พระราชวังเวสต์มินสเตอร์]]<br />เมืองเวสต์มินสเตอร์<br />กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ<br />สหราชอาณาจักร
| ที่ประชุม = [[พระราชวังเวสต์มินสเตอร์]]
| เว็บไซต์ = [http://www.parliament.uk/business/commons/ House of Commons]
| หมายเหตุ =
}}
 
'''สภาสามัญชน'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20170715173151/http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php |date=2017-07-15 }} พิมพ์คำว่า House of Commons</ref> ({{lang-en|House of Commons}}) เป็น[[สภาล่าง]]ในของ[[รัฐสภาแห่งอังกฤษสหราชอาณาจักร]] มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า '''คณะสามัญชนผู้ทรงเกียรติแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือในที่ประชุมรัฐสภา''' (the Honourable the Commons of the United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland in Parliament assembled) ประกอบไปด้วยสมาชิกสภาสามัญชน หรืออีกชื่อหนึ่งว่า [[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพระราชวังเวสต์มินสเตอร์]] อันมาจากการเลือกตั้งทุกห้าปีกรุงลอนดอน ในปัจจุบันมีสมาชิกสภาจำนวนประเทศอังกฤษ 650 ที่นั่ง จากเช่นเดียวกับ[[การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2562สภาขุนนาง]] โดยพระราชบัญญัติวาระรัฐสภา ค.ศ. 2011 (Fixed-term Parliament Act 2011) กำหนดให้มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี เพื่อมิให้รัฐบาลใดๆ อาศัยความได้เปรียบจากการยุบสภาเพื่อเลือกตั้งใหม่ ในช่วงเวลาที่ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อรัฐบาลนั้นๆ โดยหากจะให้มีการเลือกตั้งก่อนกำหนด จะต้องมีการผ่านมติเสียงข้างมาก 2 ใน 3 ของสภาก่อน การประชุมสภาจัดขึ้นที่[[พระราชวังเวสต์มินสเตอร์]]บน
 
สภาสามัญชนมีสมาชิกรัฐสภา (MP) 650 คน ได้รับการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตคะแนนสูงสุดเพื่อเป็นตัวแทนของแต่ละเขต และดำรงตำแหน่งจนมีการยุบสภาโดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติการยุบและเรียกประชุมรัฐสภา ค.ศ. 2022
 
สภาสามัญชนแห่งอังกฤษเริ่มมีวิวัฒนาการตั้งแต่ช่วงศตวรรษที่ 13 และ 14 โดยในปี ค.ศ. 1707 หลังจากประเทศอังกฤษเข้าร่วมสหภาพทางการเมืองกับสกอตแลนด์ จึงเปลี่ยนชื่อเป็น "สภาสามัญชนแห่งบริเตนใหญ่" ในช่วงต้นศตวรรษที่ 19 เมื่ออังกฤษเข้าร่วมสหภาพทางการเมืองกับไอร์แลนด์จึงกลายเป็น "สภาสามัญชนแห่งบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์" จากปี ค.ศ. 1800 นั้น "สหราชอาณาจักร" เริ่มหมายถึง สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ และกลายเป็นสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือเมื่อ[[เสรีรัฐไอริช]]ประกาศอิสรภาพในปี ค.ศ. 1922 ทำให้สภาสามัญชนได้ชื่อที่คงอยู่จนถึงปัจจุบัน
 
ภายใต้พระราชบัญญัติรัฐสภา ค.ศ. 1911 และ ค.ศ. 1949 นั้น ได้ลดอำนาจของสภาขุนนางที่สามารถปัดตกร่างกฎหมายได้ ให้เหลืออำนาจในการทำให้กระบวนการพิจารณากฎหมายช้าลงเท่านั้น
 
รัฐบาลขึ้นตรงต่อสภาสามัญชนแต่เพียงผู้เดียว และนายกรัฐมนตรีสามารถดำรงตำแหน่งตราบใดที่ยังสามารถรักษาความไว้วางใจของเสียงข้างมากในสภาได้
 
== บทบาท ==
 
=== ความสัมพันธ์กับรัฐบาลในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ===
แม้ว่าในทางกฎหมายสภาสามัญชนไม่ได้เลือกนายกรัฐมนตรีนั้น แต่โดยธรรมเนียมปฏิบัตินายกรัฐมนตรีขึ้นตรงกับสภาสามัญชน จึงต้องได้รับการสนับสนุนจากสภาด้วย ดังนั้นจุดยืนของพรรคการเมืองในสภาจึงมีผลต่อการดำรงตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีอย่างมีนัยยะสำคัญ ดังนั้นหากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีว่างลง พระมหากษัตริย์จึงแต่งตั้งผู้ที่ได้รับการสนับสนุนของสภา หรือผู้ที่มีแนวโน้มได้รับการสนับสนุนของสภาซึ่งโดยปกติคือหัวหน้าของพรรคที่มีที่นั่งมากที่สุดในสภา และหัวหน้าพรรคที่มีที่นั่งลำดับรองจะได้รับการแต่งตั้งเป็นหัวหน้าฝ่ายค้าน โดยตั้งแต่ปี ค.ศ. 1963 นั้น นายกรัฐมนตรีเป็นสมาชิกสภาสามัญชนโดยธรรมเนียม มิได้แต่งตั้งจากสภาขุนนาง
 
สภาอาจแสดงเจตนารมณ์ว่าไม่สนับสนุนรัฐบาลโดยการไม่สนับสนุนญัตติไว้วางใจ หรือโดยการผ่านญัตติไม่ไว้วางใจ ญัตติทั้งสองมีการใช้ถ้อยคำแตกต่างกัน เช่น "...โดยที่สภานี้ไม่มีความไว้วางใจในรัฐบาลในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว" มีร่างกฎหมายหลายประเภทในอดีตที่ถือว่าเกี่ยวข้องกับความไว้วางใจด้วย ถึงแม้ว่าไม่มีการกล่าวถึงอย่างโจ่งแจ้งก็ตาม โดยมักเป็นร่างกฎหมายสำคัญที่เกี่ยวข้องกับนโยบายของรัฐบาล อย่างไรก็ดี พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปียังถือว่าเป็นพระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับความไว้วางใจในรัฐบาล เมื่อสภาไม่ไว้วางใจในรัฐบาลอีกต่อไป นายกรัฐมนตรีย่อมต้องลาออกจากตำแหน่ง หรือขอให้พระมหากษัตริย์ยุบรัฐสภาเพื่อให้มีการเลือกตั้งทั่วไป
 
ก่อนปี ค.ศ. 2011 รัฐสภาอาจดำรงวาระได้ไม่เกิน 5 ปี แต่นายกรัฐมนตรีสามารถเลือกให้มีการยุบสภาก่อนครบวาระได้โดยรับพระราชทานพระบรมราชานุญาต ตั้งแต่มีการตราพระราชบัญญัติการยุบและเรียกประชุมรัฐสภา พ.ศ. 2022 หรือก่อนหน้านั้นคือพระราชบัญญัติกำหนดวาระรัฐสภา ค.ศ. 2011 ได้มีการกำหนดให้รัฐสภาดำรงวาระ 5 ปี แต่สมาชิกรัฐสภาจำนวน 2 ใน 3 ของจำนวนที่นั่งรัฐสภาทั้งหมด (ไม่เปลี่ยนแปลงแม้ว่าจะมีที่นั่งว่างลงหรือมีสิทธิออกเสียงหรือไม่) สามารถเห็นชอบให้มีการเลือกตั้งทั่วไปได้ หรือการผ่านญัตติไม่ไว้วางใจที่ไม่มีการผ่านญัตติไว้วางใจภายใน 14 วันหลังจากนั้น (ซึ่งอาจจะเป็นการไว้วางใจรัฐบาลชุดเดิมหรือชุดใหม่ก็ได้) ซึ่งหากใช้กลไกสุดท้ายที่กล่าวมา รัฐบาลสามารถเปลี่ยนแปลงโครงสร้างได้โดยไม่ต้องจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไป หากอิงตามข้อมูลในวันที่ 31 ตุลาคม ค.ศ. 2019 นั้น นายกรัฐมนตรี 4 คนจาก 9 คนล่าสุดนั้นได้รับตำแหน่งโดยตรงหลังจากการเลือกตั้งทั่วไป ส่วนคนอื่น ๆ ได้รับตำแหน่งจากการลาออกของนายกรัฐมาตรีคนก่อน
 
นายกรัฐมนตรีย่อมลาออกทันทีหากไม่สามารถจัดตั้งรัฐบาลร่วมได้หรือจัดให้มีข้อตกลงไว้วางใจและสนับสนุนพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี หรือหากมีการผ่านญัตติไม่ไว้วางใจ หรือโดยเหตุผลส่วนตัว ซึ่งหากมีการลาออก ผู้ที่ได้รับตำแหน่งต้องเป็นผู้ที่สามารถได้รับความไว้วางใจจากเสียงส่วนมากในสภาได้ แต่หากสภาอยู่ในสภาวะปริ่มน้ำ โดยธรรมเนียมผู้ที่ได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคือผู้ที่เป็นหัวหน้าพรรคคนใหม่ของพรรคที่อดีตนายกรัฐมนตรีสังกัด ในปัจจุบันพรรคการเมืองใหญ่ ๆ มักนิยมเขียนธรรมนูญพรรคให้มีวิธีการเลือกหัวหน้าพรรคใหม่โดยตายตัว
ปัจจุบันสภาสามัญชนมีบทบาทมาก เมื่อเทียบกับ[[สภาขุนนาง]] (House of Lords) อันเป็นสภาสูง ซึ่งมีบทบาทน้อยลงเมื่อเทียบกับอดีต โดยบทบาทของสภาสามัญชนนั้นเพิ่มขึ้นอย่างเป็นรูปเป็นร่างครั้งแรกเมื่อปี 1911 จากการตรา "พระราชบัญญัติรัฐสภา ค.ศ. 1911" (Parliament Act 1911) ซึ่งกำหนดให้สภาขุนนางสามารถระงับกฎหมายได้ไม่เกิน 2 ปีเท่านั้น และไม่สามารถระงับกับกฎหมายซึ่งเกี่ยวเนื่องกับงบประมาณและการคลังของประเทศได้ รวมถึงยกเลิกอำนาจวีโต (Veto) ของสภาขุนนาง ต่อกฎหมายใด ๆ ต่อมา "พระราชบัญญัติรัฐสภา ค.ศ. 1949" (Parliament Act 1949) ลดระยะเวลาการระงับกฎหมายเหลือเพียง 1 ปีเท่านั้น
 
== ดูเพิ่ม ==