ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาฮีบรูไบเบิล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 9655802 โดย InternetArchiveBot (พูดคุย) ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
 
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล ภาษา
'''ภาษาฮีบรูไบเบิล''' (Biblical Hebrew) หรือ'''ภาษาฮีบรูคลาสสิก''' (Classical Hebrew) เป็นรูปแบบโบราณของที่ใช้เขียนคัมภีร์และจารึกใน เชื่อว่าเป็นรูปแบบที่เคยใช้พูดในอิสราเอลสมัยโบราณ ไม่มีการใช้เป็นภาษาพูดในปัจจุบัน แต่ยังมีการศึกษาในฐานะภาษาทางศาสนาของ ทฤษฎีของ นักภาษาศาสตร์และนักโบราณคดีของอิสราเอลเพื่อให้เข้าใจไบเบิลภาษาฮีบรูและปรัชญาของชาวเซมิติกมากขึ้น มีการสอนในโรงเรียนในประเทศอิสราเอล
|name=ภาษาฮีบรูไบเบิล
|region=[[ประเทศอิสราเอล]]สมัยโบราณ
|speakers= เป็นภาษาทางศาสนา ไม่ใช้เป็นภาษาพูด
|familycolor=Afro-Asiatic
|fam2=[[ภาษากลุ่มเซมิติก|เซมิติก]]
|fam3=[[ภาษากลุ่มเซมิติกตะวันตก|เซมิติกตะวันตก]]
|fam4=[[ภาษากลุ่มเซมิติกกลาง|เซมิติกกลาง]]
|fam5=[[ภาษากลุ่มเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ|เซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ]]
|fam6=[[ภาษากลุ่มคานาไนต์|คานาไนต์]]
|fam7=[[ภาษาฮีบรู]]
|script=[[อักษรฮีบรู]]
|iso1=he|iso2=|iso3=|
}}
'''ภาษาฮีบรูไบเบิล''' (Biblical Hebrew) หรือ'''ภาษาฮีบรูคลาสสิก''' (Classical Hebrew) เป็นรูปแบบโบราณของ[[ภาษาฮีบรู]]ที่ใช้เขียนคัมภีร์[[ไบเบิล]]และจารึกใน[[อิสราเอล]] เชื่อว่าเป็นรูปแบบที่เคยใช้พูดในอิสราเอลสมัยโบราณ ไม่มีการใช้เป็นภาษาพูดในปัจจุบัน แต่ยังมีการศึกษาในฐานะภาษาทางศาสนาของ[[ชาวยิว]] ทฤษฎีของ[[ศาสนาคริสต์]] นักภาษาศาสตร์และนักโบราณคดีของอิสราเอลเพื่อให้เข้าใจไบเบิลภาษาฮีบรูและปรัชญาของชาวเซมิติกมากขึ้น มีการสอนในโรงเรียนในประเทศอิสราเอล
 
ภาษาฮีบรูไบเบิลสามารถอ่านได้บ้างโดยผู้ที่เข้าใจภาษาฮีบรูสมัยใหม่ ซึ่งมีความแตกต่างกันบ้างในด้านคำศัพท์ ไวยากรณ์ และการออกเสียง แม้ว่ากฎของไวยากรณ์ของภาษาฮีบรูไบเบิลและภาษาฮีบรูสมัยใหม่มักจะต่างกัน แต่ภาษาฮีบรูไบเบิลบางครั้งมีใช้ในวรรณคดีภาษาฮีบรูสมัยใหม่ หน่วยในภาษาฮีบรูไบเบิลมักจะใช้ในบทสนทนาและสื่อในอิสราเอล
เส้น 5 ⟶ 19:
== คำจำกัดความ ==
 
ภาษาฮีบรูไบเบิลนี้คาดว่าเคยใช้ในช่วง ศตวรรษที่ 10 ก่อนคริสตกาลและสิ้นสุดลง ค.ศ.70 หลังเกิดกบฏบาร์ ค็อกบาต้านจักรวรรดิโรมัน และเป็นองค์ประกอบของไบเบิลภาษาฮีบรูทุกฉบับ รวมทั้งส่วนที่เป็น[[ภาษาอราเมอิก]]และคำยืมต่างๆ ความหมายของคำว่าภาษาฮีบรูไบเบิลแตกต่างกันไปในแต่ละบริบท ส่วนมากจะมีความหมายต่อไปนี้
* สำเนียงทั้งหมดของภาษาฮีบรูที่พบในไบเบิลฉบับภาษาฮีบรู ทั้งในไบเบิลโบราณจนถึงรุ่นหลังสุด
* ภาษาฮีบรูที่อยู่เฉพาะในไบเบิลเท่านั้นไมรวมอยู่ในเอกสารอื่นๆเช่นจารึกซึ่งใช้ภาษาฮีบรูสำเนียงที่ใกล้เคียงกัน
* [[ภาษาฮีบรูติเบอเรียน]] หรือภาษาฮีบรูมาโซเรติก ซึ่งเป็นการออกเสียงในยุคกลางตอนต้นของไบเบิลภาษาฮีบรูสมัยโบราณที่เขียนแบบใช้พยัญชนะเท่านั้น
 
ในมุมมองของนักภาษาศาสตร์ ภาษาฮีบรูคลาสสิกแบ่งได้เป็นสองยุคคือ ภาษาฮีบรูไบเบิลและภาษาฮีบรูในยุค[[จักรวรรดิโรมัน]] ซึ่งมีรูปแบบไวยากรณ์ที่ต่างกัน ภาษาฮีบรูไบเบิลแบ่งต่อไปได้เป็นยุคทองของภาษาฮีบรู (ก่อน พ.ศ. 43) และยุคเงิน (พ.ศ. 43 – 483) ยุคเงินเป็นยุคที่มีคำยืมจากภาษาอราเมอิกเข้ามามาก ตัวอย่างเช่นใช้ ˈilluː (אִלּוּ) แทน luː (לוּ) หรือแทนที่สรรพนามʔaˈʃer (אֲשֶר) (หมายถึง ที่ ซึ่ง อัน) ในยุคต้นด้วย ʃe- (-שֶ) ในยุคต่อมา ทั้งสองอย่างนี้มีใช้ใน[[ภาษาฮีบรูมิซนาอิก]]และภาษาฮีบรูสมัยใหม่ภาษาฮีบรูสมัยจักรวรรดิโรมันหรือภาษาฮีบรูมิซนาอิกได้รับอิทธิพลจาก[[ภาษากรีก]]และ[[ภาษาเปอร์เซีย]] ส่วนใหญ่ผ่านทางภาษาอราเมอิกที่เป็นภาษากลางในขณะนั้น โดยอยู่ในรูปสำเนียงต่างๆของชาวยิว เช่น [[ภาษาฮีบรูซามาริทัน]]ที่ใช้โดยชาวซามาริทัน
 
การออกเสียงของภาษาฮีบรูไบเบิลได้มาจากระบบมาโซเรติกที่ประยุกต์ใช้กับเอกสารโบราณ ภาษาฮีบรูไบเบิลมีหน่วยที่ผสมกันอยู่ คำส่วนใหญ่มาจากรากศัพท์พยัญชนะสามตัว มีข้อยกเว้นบ้างสำหรับสำหรับศัพท์ที่ยืมมาจากภาษาที่ไม่ใช่[[ภาษากลุ่มเซมิติก]]
 
== ภาษาลูกหลาน ==
เส้น 19 ⟶ 33:
* ภาษาฮีบรูมิซนาอิก
* ภาษาฮีบรูติเบอเรียน
* [[ภาษาฮีบรูเซฟาร์ดี]]
*
* [[ภาษาฮีบรูอาซเกนาซี]]
*
* ภาษาฮีบรูสมัยใหม่
 
เส้น 80 ⟶ 94:
 
=== พยัญชนะ ===
ภาษาฮีบรูไบเบิลพัฒนามาจาก[[ภาษาเซมิติกดั้งเดิม]]โดยมีการรวมเสียงดังต่อไปนี้
* เซมิติกดั้งเดิม */ð/ และ */z/ รวมเป็น /z/ ในฮีบรูไบเบิล
* เซมิติกดั้งเดิม */θ/ และ */ʃ/ รวมเป็น /ʃ/ ในฮีบรูไบเบิล
เส้น 90 ⟶ 104:
* เซมิติกดั้งเดิม *-/át/ > -/áː/ ในฮีบรูไบเบิลในตอนท้ายของคำนามเพศหญิง ไม่ใช่ในสถานะโครงสร้าง
* เซมิติกดั้งเดิม */h/ > Ø ในฮีบรูไบเบิลระหว่างสระในปัจจัยสรรพนาม
จากการถอดเป็น[[อักษรกรีก]]มีหลักฐานว่าภาษาฮีบรูไบเบิลยังคงรักษาเสียงพยัญชนะ /ɣ/, /x เช่น ʿǍmōrāh (עֲמוֹרָה) ถอดเป็น Gómorrha (Γόμορρα) ในภาษากรีก ในขณะที่ ʿĒḇer (עֵבֶר) ถอดเป็น Éber (Ἔβερ) ในขณะที่มีหลักฐานว่าเสียง */ɣ/ และ */ʕ/ ในภาษาเซมิติกดั้งเดิมกลายเป็น ʿayin (ע) ในภาษาฮีบรูยุคต่อมาทั้งคู่ แต่ยังมีการแยกเสียงทั้งสองนี้ในยุคคลาสสิก เช่นเดียวกับ Raħēl (רָחֵל) ถอดเป็น Rhakhḗl (Ῥαχήλ) ในขณะที่ Yisˁħāq (יִצְחָק) กลายเป็น Isaák (Ἰσαάκ)
=== การออกเสียงสระ ===
* เซมิติกดั้งเดิม */á:/ > /o:/; ในฮีบรูไบเบิลในตำแหน่งท้ายคำ > /a:/ (การยกเสียงในภาษาคานาอันไนต์)
เส้น 128 ⟶ 142:
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* ประวัติศาสตร์
** [http://www.adath-shalom.ca/history_of_hebrewtoc.htm History of the Ancient and Modern Hebrew Language], David Steinberg
** [http://www.houseofdavid.ca/anc_heb.htm Biblical Hebrew Poetry and Word Play - Reconstructing the Original Oral, Aural and Visual Experience]
** [http://www.adath-shalom.ca/rabin_he.htm Short History of the Hebrew Language], Chaim Menachem Rabin
* ไวยากรณ์และคำศัพท์
** [http://www.hebrew4christians.com/Grammar/grammar.html Basic Biblical Hebrew Grammar (introductory)]
** [http://biblical-studies.ca/hebrew/Kittel2_database.html The Kittel Hebrew Words Database (Second Ed.)] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20081208201747/http://biblical-studies.ca./hebrew/Kittel2_database.html |date=2008-12-08 }} Learn by use of flashcards 490 important Biblical Hebrew words.
** [http://biblical-studies.ca/hebrew/pdfs/Writing_Hebrew.pdf Learn to write the Hebrew characters] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20101120034624/http://biblical-studies.ca/hebrew/pdfs/Writing_Hebrew.pdf |date=2010-11-20 }}
**
{{ภาษาของชาวยิว}}
 
[[หมวดหมู่:ภาษาโบราณในทวีปเอเชีย|ฮีบรูไบเบิล|ภาษาของชาวยิว|ชาวยิว|ศาสนายูดาย|ศาสนาคริสต์]]