ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มาราธอน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 0 sources and tagging 1 as dead.) #IABot (v2.0.8.2
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.9.2
 
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Berlin marathon.jpg|thumb|300px|การแข่งขันวิ่งมาราธอนในเบอร์ลิน ค.ศ. 2007]]
 
'''มาราธอน''' ({{lang-en|Marathon}}) คือการแข่งขัน[[วิ่ง]]ระยะยาว ในระยะอย่างเป็นทางการคือ 42.195 กิโลเมตร (26 ไมล์และ 385 หลา) โดยมักจะวิ่งแข่งกันบนถนน โดยการแข่งวิ่งนี้มีที่มาจากนายทหารชาวกรีกผู้ส่งข่าวที่ชื่อว่า ฟิดิปปิเดซ ที่ต้องวิ่งในการรบจากเมืองมาราธอนไปยัง[[เอเธนส์]] แต่ตำนานบอกเล่านี้ก็ยังคงเป็นข้อสงสัยอยู่<ref name=Prologue>{{cite web|url=http://www.marathonguide.com/history/olympicmarathons/prologue.cfm |title=Prologue: The Legend |publisher=Marathonguide.com |date= |accessdate=2009-08-22}}</ref> ซึ่งขัดแย้งกับการบันทึกของ[[เฮโรโดตุส]] เป็นส่วนใหญ่<ref>[{{Cite web |url=http://www.arrs.net/article_pheidippides.php |title=Andy Milroy, ''Did Pheidippides run a marathon?''] |access-date=2010-08-22 |archive-date=2011-04-25 |archive-url=https://web.archive.org/web/20110425102716/http://www.arrs.net/article_pheidippides.php |url-status=dead }}</ref>
 
การแข่งขันวิ่งมาราธอนเป็นหนึ่งในกีฬาการแข่งขัน[[โอลิมปิก]]สมัยใหม่ ในปี ค.ศ. 1896 ระยะทางการวิ่งยังไม่เป็นมาตรฐาน จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1921
บรรทัด 12:
คำว่า"มาราธอน"มาจากตำนานของPheidippides , ผู้ส่งข่าวสารชาวกรีก ตำนานกล่าวว่าเขาถูกส่งจากสนามรบในเมืองมาราธอนไปเอเธนส์เพื่อที่จะประกาศพวกเปอร์เซียได้พ่ายแพ้ในการต่อสู้ที่เมืองมาราธอน (หลังจากเพิ่งรบเสร็จ)<ref name=galloway>{{cite web |url=http://www.jeffgalloway.com/retreats/athens.html |title=Retreats&nbsp;— Athens |publisher=Jeffgalloway.com |accessdate=22 August 2009 |archive-date=2009-06-01 |archive-url=https://web.archive.org/web/20090601183948/http://jeffgalloway.com/retreats/athens.html |url-status=dead }}</ref>]ซึ่งเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นในเดือนสิงหาคมหรือกันยายน, 490 BC<ref name = date>[http://skytonight.com/about/pressreleases/3309276.html The Moon and the Marathon]{{ลิงก์เสีย|date=ตุลาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}, ''Sky & Telescope''. Skytonight.com (19 July 2004). Retrieved on 18 April 2013.</ref> มันเป็นเรื่องที่น่าเศร้าที่เขาวิ่งมาตลอดทั้งทางโดยไม่หยุดพักและเมื่อถึงเมืองเอเธนส์เขาก็ได้ร้องตะโกนคำว่า " νενικηκαμεν ' ( nenikekamen ) "(" เราwοn ") ก่อนที่จะล้มลงและตาย<ref>{{cite web|url=http://www.perseus.tufts.edu/Olympics/faq10.html |title=Ancient Olympics FAQ 10 |publisher=Perseus.tufts.edu |accessdate=22 August 2009}}</ref> บันทึกในเรื่องของการวิ่งจาก มาราธอนไปเอเธนส์ ปรากฏครั้งแรกใน Plutarch's On the Glory of Athens ในศตวรรษที่ 1 ซึ่งได้อ้างคำพูดจาก Heraclides Ponticus's lost work, ได้บอกชื่อของนักวิ่งคือ Thersipus of Erchius หรือ Eucles<ref>Moralia 347C</ref> Lucian of Samosata (ศตวรรษที่ 2 AD) ก็ได้กล่าวถึงเรื่องนี้ แต่ชื่อของของนักวิ่งคือ Philippides (ไม่ใช่ Pheidippides)<ref>A slip of the tongue in Salutation, Chapter 3</ref>
 
มีข้อถกเถียงกันเกี่ยวกับความถูกต้องทางประวัติศาสตร์ของตำนานนี้<ref name=Prologue>{{cite web|url=http://www.marathonguide.com/history/olympicmarathons/prologue.cfm |title=Prologue: The Legend |publisher=Marathonguide.com |accessdate=22 August 2009}}</ref><ref>Holland, Tom (2007) ''Persian Fire'', Knopf Doubleday Publishing Group, ISBN 0307386988.</ref> นักประวัติศาสตร์กรีก Herodotus (แหล่งข้อมูลหลักเกี่ยวกับสงครามกรีกเปอร์เซีย) อ้างว่า Pheidippides เป็นผู้ส่งสารที่วิ่งจากกรุงเอเธนส์ไปสปาร์ตาเพื่อขอความช่วยเหลือ แล้ววิ่งกลับเป็นระยะทางไปกลับรอบละกว่า 240 กิโลเมตร (150 ไมล์)<ref>{{cite web |url=http://www.coolrunning.co.nz/articles/2002a007.html#appendix |title=The Great Marathon Myth |publisher=Coolrunning.co.nz |accessdate=22 August 2009 |archive-date=2009-08-28 |archive-url=https://web.archive.org/web/20090828223341/http://www.coolrunning.co.nz/articles/2002a007.html#appendix |url-status=dead }}</ref>ในบางต้นฉบับ Herodotus บอกว่าชื่อของนักวิ่งที่วิ่งระหว่างกรุงเอเธนส์และสปาร์ตาได้รับก็คือ Philippides โดยไม่เอ่ยถึงการถึงเรื่องผู้ส่งสารจาก Marathon ไปยังเอเธนส์ แต่กล่าวถึงตอนสำคัญเกี่ยวกับกองทัพชาวเอเธนส์ว่า ได้รับชัยชนะจากการต่อสู้ที่ยากลำบากและกังวลว่าอาจจะมีการโจมตีโดยกองเรือของเปอร์เซียกับกองทัพของชาวเอเธนส์ที่กำลังหมดแรงลง,จึงรีบทำการเดินทัพกลับมายังเมืองเอเธนส์, โดยเดินทางกลับมาถึงเมืองในวันเดียวกัน
 
ในปี 1879 โรเบิร์ตบราวนิ่งเขียนบทกวีที่ชื่อว่า Pheidippides บทกวีของบราวนิ่งเป็นบทกวีที่ได้รับความนิยมอย่างมากในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นช่วงที่เรื่องเกี่ยวกับวัฒนธรรมกำลังเป็นที่นิยม และบทกวีของเขาก็ได้รับการยอมรับในฐานะตำนานประวัติศาสตร์ฉบับหนึ่ง{{อ้างอิง}}