ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าฟ้าหลวงอัตถวรปัญโญ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PickOil (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับไอโอเอส
PickOil (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับไอโอเอส
บรรทัด 126:
ในปี พ.ศ. 2338 เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ เจ้าผู้ครองนครน่าน องค์ที่ 57 พร้อมทั้งสวาธุเจ้าทิพพาลังการ เป็นประธานในการสร้างหีบพระธรรม ซึ่งหีบใบนี้มีความวิจิตรงดงาม อย่างมาก มีลักษณะเป็นหีบทรงลุ้ง ฝาตัด ฐานปัทม์ สลักภาพนูนต่ำและปั้นรักประดับ แสดงภาพเล่าเรื่องสิริจุฑามณชาดก ซึ่งเป็นหนึ่งใน ''ปัญญาสชาดก''
 
'''11. สร้างวัดบุญยืน พระอารามหลวง''' (ที่ตั้งปัจจุบันอยู่ในปัจจุบัน) ณเขต [[อำเภอเวียงสา|เวียงสา]]''' [[จังหวัดน่าน]])
 
ในปีเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2341 เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ เจ้าผู้ครองนครน่าน องค์ที่ 57 ได้เสด็จประพาสเวียงป้อ (เวียงสา) ทรงเห็นว่าวัดบุญยืน มีความคับแคบไม่อาจขยายให้กว้างขวางได้ ประกอบกับเจ้าอาวาสขณะนั้น คือ พระอธิการนาย (ครูบานาย) และราษฎรได้เห็นพ้องต้องกันด้วย ดังนั้น เจ้าฟ้าอัตถวรปัญโญ จึงให้ย้ายวัดมาสร้างใหม่ห่างจากวัดเดิมประมาณ 3 เส้น ทางด้านทิศเหนือบนฝั่งขวาของลำน้ำน่าน เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2329 บริเวณที่ตั้งของวัดนั้น มีป่าไม้สักที่สมบูรณ์ จึงใช้ไม้สักสร้างวิหาร กุฎิสงฆ์ และศาสนวัตถุอื่นๆ เป็นจำนวนมาก และได้พระราชทานนามวัดใหม่แห่งว่า ..'''วัดป่าสักงาม''' .. ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2343 ได้โปรดให้หมื่นศรีสรรพช่างก่อสร้างพระวิหาร โดยมีความกว้าง 15 เมตร ยาว 30 เมตร และสร้างพระพุทธรูปปางประทับยืน เป็นพระประธานในวิหาร หันพระพักตร์ไปทางด้านทิศเหนือ มีขนาดความสูง 8 ศอก หลังจากนั้นจึงเปลี่ยนชื่อวัดป่าสักงาม มาเป็น '''“วัดบุญยืน” ''' ตามลักษณะพระพุทธธูป ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา จนถึงปัจจุบัน
 
'''12. บูรณปฏิสังขรณ์ วัดพระธาตุแช่แห้ง'''