ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
GardVP123 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 20:
}}
 
'''วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร''' หรือ '''วปอ.''' เป็น[[สถาบันการศึกษา]]ชั้นสูงของประเทศ ขึ้นตรงกับ[[สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ]] [[กองบัญชาการกองทัพไทย]] [[กระทรวงกลาโหม (ประเทศไทย)|กระทรวงกลาโหม]]<ref name="พ.ร.ฎ.">{{Cite web |url=http://j5.rtarf.mi.th/image_isc/army2552.pdf |title=พระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการและกำหนดหน้าที่ของส่วนราชการกองทัพบก กองบัญชาการทหารสูงสุด กระทรวงกลาโหม พ.ศ. 2552 |access-date=2010-01-09 |archive-date=2012-05-28 |archive-url=https://web.archive.org/web/20120528235332/http://j5.rtarf.mi.th/image_isc/army2552.pdf |url-status=dead }}</ref> มีหน้าที่จัดการศึกษาหลักสูตรเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งชาติและการป้องกันราชอาณาจักร ให้แก่ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ทั้งฝ่ายทหารและพลเรือน พนักงานองค์การของรัฐ รัฐวิสาหกิจ รวมทั้งเอกชน โดยฝึกปฏิบัติการวางแผนและนโยบายระดับชาติ การพัฒนายุทธศาสตร์ชาติ ผู้อำนวยการได้แก่ พลโท<ref>[https://www.bangkokbiznews.com/news/news-update/1026060 โปรดเกล้าฯ "พระราชทานยศทหารชั้นนายพล" จำนวน 530 ราย ประกาศลงราชกิจจาฯ]</ref> ชาติชาย ชัยเกษม รองผู้อำนวยการ​ได้แก่ พลตรี .ต.ภาณุพงศ์ สุวัณณสส์ <ref>{{cite web|url=https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=139D213S0000000000100|title=ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ|work=ราชกิจจานุเบกษา|date=2022-09-10|accessdate=2022-09-10}}</ref>
 
== ประวัติ ==
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ก่อตั้งเมื่อวันที่ [[2 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2498]] โดย [[แปลก พิบูลสงคราม|จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] โดยเปิดการศึกษาเฉพาะผู้บริหารชั้นสูงของฝ่ายทหารและพลเรือนเท่านั้น
 
ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2532]] จึงเปิด '''หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน''' หรือ '''ปรอ.''' ขึ้นมาอีกหลักสูตรหนึ่ง เพื่อให้นักธุรกิจระดับเจ้าของกิจการหรือผู้บริหารได้เข้ารับการศึกษาร่วมกับผู้บริหารระดับสูงของภาครัฐ ในปี พ.ศ. 2546 เปิด '''หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐ เอกชน และการเมือง''' หรือ '''วปม.''' โดยรับนักการเมืองเพิ่มเข้ามา ปัจจุบันหลักสูตร วปม. ไม่เปิดการศึกษา คงเหลือแต่หลักสูตร วปอ. และ ปรอ. นักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรเป็นผู้บริหารระดับสูง โดยมีข้อกำหนดของผู้ที่จะได้รับการพิจารณาให้เข้าศึกษานี้ว่า
ในปี [[พ.ศ. 2546]] เปิด '''หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐ เอกชน และการเมือง''' หรือ '''วปม.''' โดยรับนักการเมืองเพิ่มเข้ามา ปัจจุบันหลักสูตร วปม. ไม่เปิดการศึกษา คงเหลือแต่หลักสูตร วปอ. และ ปรอ. นักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรเป็นผู้บริหารระดับสูง โดยมีข้อกำหนดของผู้ที่จะได้รับการพิจารณาให้เข้าศึกษานี้ว่า
* ถ้าเป็น[[ข้าราชการพลเรือนสามัญ|ข้าราชการพลเรือน]] ต้องเป็นระดับอำนวยการระดับสูง หรือเทียบเท่า ขึ้นไป
* ถ้าเป็น[[ทหาร|ข้าราชการทหาร]] ต้องมีชั้นยศระดับพันเอก, นาวาเอก ,นาวาอากาศเอก รับเงินเดือนอัตราพันเอก(พิเศษ) ,นาวาเอก(พิเศษ) ,นาวาอากาศเอก(พิเศษ) ขึ้นไป
* ถ้าเป็นข้าราชการตำรวจ ต้องมีชั้นยศระดับพันตำรวจเอก รับเงินเดือนอัตราพันตำรวจเอกพิเศษ ขึ้นไป<ref name="thaindc">[http://www.thaindc.org/ เว็บไซต์วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร]</ref>
 
<!-- ไม่ต้องใส่ก็ได้มั้ง?
== ผู้เข้ารับการศึกษาอบรม ==
=== วปรอ. 4010 ===
'''วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรรุ่น 4010''' หรือ วปรอ 4010 ถือเป็นรุ่นที่อยู่ในความสนใจของคนทั่วไป{{อ้างอิง}} เนื่องจากเป็นรุ่นที่มีบุคคลประสบความสำเร็จดำรงตำแหน่งสำคัญ และประกอบด้วยบุคคลสำคัญในทุกวงการ มีความโดดเด่น คือ ในรุ่นเดียวกันมีผู้บัญชาการทหารบกถึง 3 คน นอกจากนี้ยังมีองคมนตรี รัฐมนตรี เลขาธิการนายกรัฐมนตรี และปลัดกระทรวงอีกหลายท่าน '''[[ชุมพล ปัจจุสานนท์]]''' '''[[ประวิตร วงษ์สุวรรณ]]''' '''[[สมทัต อัตตะนันทน์]]''' '''[[ชัยสิทธิ์ ชินวัตร]]''' '''[[วัลลภ ไทยเหนือ]]''' '''[[ดุสิต ศิริวรรณ]]''' '''[[พงษ์เทพ เทศประทีป]]''' '''[[ปานเทพ กล้าณรงค์ราญ]][[นิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล]]'''
 
'''[[กษมา วรวรรณ ณ อยุธยา|กษมา วรวรรณ]]''' '''[[คัมภีร์ แก้วเจริญ]]''' '''[[จุลยุทธ์ หิรัญวิศิษฐ์]]''' '''[[ชัช ชลวร]]''' '''[[ประเสริฐ บุญสัมพันธ์]]''' '''[[หม่อมหลวงไกรฤกษ์ เกษมสันต์|ไกรฤกษ์ เกษมสันต์]]''' '''[[จารุภัทร เรืองสุวรรณ]]''' '''[[ธเรศ ปุณศรี]]''' '''[[ บุษยา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา |บุษยา สนิทวงศ์]][[ นรีวรรณ จินตกานนท์ |นรีวรรณ จินตนนท์]]'''
 
'''[[เพ็ญพักตร์ ศรีทอง]]''' '''[[วีรวิท คงศักดิ์]][[ชูชาติ สุขสงวน]]''' '''[[ศุลีมาส สุทธิสัมพัทธ์]]''' '''[[นคร ศิลปอาชา]]''' -->
 
== เข็มรัฎฐาภิรักษ์ ==
[[ไฟล์:Emblem of National Defence College (Thailand).gif|right|150x150px|เข็มวปอ.]]
เข็มรัฎฐาภิรักษ์ หรือ เข็มวปอ.(ภาษาพูด) เป็นเครื่องหมายวิทยฐานะ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร เริ่มใช้ตั้งแต่การศึกษารุ่นแรก(ประจำปี พ.ศ. 2498 – 2499) เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน โดยความหมายของสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ประกอบเป็นเข็มรัฎฐาภิรักษ์มีดังนี้
* '''รูปทรงของเข็มที่เป็นรูปโล่''' หมายถึง สิ่งที่ใช้ป้องกันภัยและอันตรายเมื่อนำมาใช้ร่วมกับภาพธงชาติ จึงมีความหมายถึงการป้องกันประเทศชาติให้อยู่รอดปลอดภัย
* '''แถบธงชาติไทย''' หมายถึง ราชอาณาจักรไทย
* '''สีฟ้าอ่อน ซึ่งเป็นสีของพื้นโล่''' หมายถึง สถาบันการศึกษาชั้นสูงของประเทศเป็นสีท้องฟ้าอันเป็นสิ่งที่สูงส่ง
* '''พระมหามงกุฎพร้อมรัศมี''' หมายถึง สถาบันพระมหากษัตริย์
* '''อุณาโลม''' หมายถึง ศาสนาประจำชาติ เนื่องจากเป็นเครื่องหมายที่ใช้ในพิธีทางศาสนาโดยทั่วไป
* '''จักร''' หมายถึง กองทัพบก
* '''สมอเรือ''' หมายถึง กองทัพเรือ
* '''ปีกนก''' หมายถึง กองทัพอากาศ
*'''ราชสีห์และคชสีห์''' หมายรวมถึง กระทรวง ทบวงต่าง ๆ เนื่องจากเป็นส่วนหนึ่งของ ตราประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและสำนักนายกรัฐมนตรี
* '''ดาวห้าแฉกสีทอง''' หมายถึง การผนึกกำลังทั้ง 5 ฝ่าย ได้แก่ ทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศ ตำรวจ พลเรือน ให้เป็นหนึ่งเดียว
*'''ช่อชัยพฤกษ์''' หมายถึง ชัยชนะอันเกิดจากความสามัคคี ความพร้อมเพรียงกันของบุคคลทุกฝ่ายในชาติ
 
== การวิพากษ์วิจารณ์ ==