ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตำนานแทงข้างหลัง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "อีริช" → "เอริช" +แทนที่ "ลูเดนดอร์ฟฟ์" → "ลูเดินดอร์ฟ" +แทนที่ "ไรน์แลนด์" → "ไรน์ลันท์" +แทนที่ "ฮินเดนเบิร์ก" → "ฮินเดินบวร์ค" ด้วยสจห.
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "สมเด็จพระจักรพรรดิ" → "จักรพรรดิ" +แทนที่ "จักรพรรดิไกเซอร์" → "องค์ไคเซอร์" ด้วยสจห.
บรรทัด 24:
== จุดกำเนิด ==
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 146-1973-076-58, Reichskanzler Cuno und Reichspräsident Ebert crop Ebert only.jpg|thumb|200px|มีเรื่องเล่าเกี่ยวกับ[[ฟรีดริช เอเบิร์ท]] ขณะที่เขาดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี[[สาธารณรัฐไวมาร์]]ชั่วคราวใน ค.ศ. 1919 ว่า เขากล่าวแก่ทหารผ่านศึกที่กลับบ้านว่า ''"ไม่มีข้าศึกใดพิชิตท่าน"'']]
ช่วงปลายสงคราม เยอรมนีอยู่ภายใต้การปกครองแบบ[[เผด็จการทหาร]]ในทางปฏิบัติ โดยมีกองกรมบัญชาการทหารทัพบกสูงสุดของเยอรมนี ({{lang-|de|Oberste Heeresleitung}}) และ จอมพล [[เพาล์ ฟ็อน ฮินเดินบวร์ค]] ในฐานะผู้บัญชาการทหารสูงสุด ถวายคำแนะนำแก่[[สมเด็จพระจักรพรรดิวิลเฮล์มที่วิลเฮ็ล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี|สมเด็จพระจักรพรรดิไกองค์ไคเซอร์]] หลังการรุกครั้งสุดท้ายบนแนวรบด้านตะวันตกประสบความล้มเหลว ความพยายามทำสงครามก็ถึงวาระสุดท้าย กองบัญชาการทหารสูงสุดสนองโดยการเปลี่ยนรัฐบาลพลเรือนอย่างรวดเร็ว พลเอกลูเดินดอร์ฟ หัวหน้าเสนาธิการ กล่าวว่า
<blockquote style="margin::1em;">''ผมทูลถามองค์ไคเซอร์ในการนำบรรดาแวดวงเหล่านั้นเถลิงอำนาจ ซึ่งเราเองก็ขอบคุณมากที่มาได้นานถึงเพียงนี้ เพราะฉะนั้น เราจะนำเหล่าสุภาพบุรุษเหล่านั้นเข้าเป็นคณะรัฐมนตรี ตอนนี้ พวกเขาสามารถสร้างสันติภาพที่ต้องทำ พวกเขาสามารถกินน้ำแกงที่พวกเขาเตรียมไว้ให้เรา!''</blockquote>
 
เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 คณะผู้แทน[[สาธารณรัฐไวมาร์]]ที่เพิ่งตั้งใหม่นั้น ได้ลงนามการสงบศึกกับฝ่ายสัมพันธมิตร อันเป็นการยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ผลกระทบที่ตามมาจากสนธิสัญญาแวร์ซายก่อให้เกิดความสูญเสียดินแดนและเศรษฐกิจอย่างมหาศาล เมื่อสมเด็จพระจักรพรรดิไกองค์ไคเซอร์ทรงถูกบังคับให้สละราชสมบัติและกองทัพสละอำนาจบริหาร รัฐบาลพลเรือนชั่วคราวก็ได้เรียกร้องสันติภาพ ลายมือชื่อของ[[มัททิอัส เออร์ซแบร์เกอร์]] พลเรือน ปรากฏบนการสงบศึก ซึ่งต่อมาเขาถูกสังหารในภายหลังเพราะการทรยศที่ถูกกล่าวหา การเสียชีวิตของเขานำไปสู่การลงนาม[[สนธิสัญญาแวร์ซาย]]
 
การถือกำเนิดอย่างของ "ตำนานแทงข้างหลัง" อย่างเป็นทางการนั้นอาจสามารถสืบได้ถึงฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 1919 เมื่อลูเดินดอร์ฟกำลังทานอาหารพลเอกนีล มัลคอล์ม หัวหน้าทูตทหารอังกฤษในกรุงเบอร์ลิน มัลคอล์มถามลูเดินดอร์ฟว่า เหตุใด เขาจึงคิดว่าเยอรมนีแพ้สงคราม ลูเดินดอร์ฟตอบคำแก้ตัวเป็นรายการของเขา รวมทั้งที่ว่า แนวหลังพังกองทัพ
บรรทัด 44:
การโจมตีแนวคิดสมคบคิดของชาวยิวในประเด็นความพ่ายแพ้ของเยอรมนีนั้นส่วนใหญ่ตกอยู่กับบุคคลที่มีชื่อเสียง อย่าง คุร์ท ไอซเนอร์ ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ผู้อาศัยอยู่ในนครมิวนิก เขาได้เขียนเกี่ยวกับสงครามซึ่งผิดกฎหมายนับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1916 เป็นต้นมา นอกจากนี้เขายังมีส่วนเกี่ยวข้องอย่างมากในการปฏิวัติมิวนิก จนกระทั่งเขาถูกลอบสังหารในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1919 สาธารณรัฐไวมาร์ภายใต้การนำของ[[ฟรีดริช เอเบิร์ท]] ได้ปราบปรามการก่อจลาจลของเหล่าชนชั้นแรงงานอย่างรุนแรง และปราบหน่วยทหารเสรีที่จัดตั้งขึ้นทั่วประเทศเยอรมนี ด้วยความช่วยเหลือจากกุสตาฟ นอร์เก และนายพลแห่งกองกำลังป้องกันแห่งชาติ วิลเฮม โกรเนอร์ แม้ว่าการโจมตีนั้นจะมีการรับฟังความเห็นของผู้อื่นก็ตาม แต่ความชอบธรรมของสาธารณรัฐนั้นก็ได้ถูกโจมตีโดยมีการกล่าวอ้างประเด็นการแทงข้างหลัง โดยผู้แทนของหน่วยทหารเสรีจำนวนมาก อย่างเช่น มัททิอัส เออร์ซเบอร์เกอร์ และวัลเทอร์ ราเทอนาว ถูกลอบสังหาร ผู้นำของกลุ่มถูกตราหน้าว่าเป็นอาชญากรและชาวยิว โดยสื่อ[[ฝ่ายขวา (การเมือง)|ฝ่ายขวา]]ของ [[อัลเฟรด ฮูเกนเบิร์ก]]
 
นักประวัติศาสตร์ชาวเยอรมัน ฟรีดิช มินเนค พยายามสืบหาร่องรอยของที่มาของคำนี้อยู่ก่อนแล้ว ตามที่ระบุในหนังสือพิมพ์เวียนนิช ''Neue Freie Presse'' เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน ค.ศ. 1922 โดยในการเลือกตั้งแห่งชาติประจำ ค.ศ. 1924 วารสารเกี่ยวกับ[[ศาสนา]]ที่ชื่อ ''Süddeutsche Monatshefte'' ได้ลงพิมพ์บทความชุดหนึ่งในระหว่างความพยายามทรยศต่อประเทศของ[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] และลูเดินดอร์ฟใน ค.ศ.ลูเดินดอร์ฟในปี 1923 โดยบทความนั้นมีเนื้อหาต่อว่าพรรคเอสพีดีและสหภาพแรงงานเกี่ยวกับความพ่ายแพ้ของเยอรมนีในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หลังตีพิมพ์บทความ บรรณาธิการของหนังสือพิมพ์พรรคเอสพีดีได้ยื่นฟ้องนิตยสารนั้นในข้อหาหมิ่นประมาท ทำให้เกิดการลุกฮือจนเป็นเหตุการณ์ที่เรียกว่า ''Munich Dolchstossprozess'' ตั้งแต่วันที่ 19 ตุลาคม ถึง 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1924 มีบุคคลสำคัญหลายคนได้ให้การเป็นพยานในศาลชั้นต้น ซึ่งรวมถึงคณะกรรมการของรัฐสภาที่สืบสวนสาเหตุความพ่ายแพ้สงครามเช่นกัน ทำให้มีผลการตัดสินคดีหมิ่นประมาทบางส่วนถูกเปิดเผยสู่สาธารณชนก่อนที่คณะกรรมการดังกล่าวจะได้ตีพิมพ์ผลการตัดสินออกมาใน ค.ศ. 1928
 
ตำนานแทงข้างหลังนั้นเป็นภาพพจน์ที่ใช้ในการโฆษณาชวนเชื่อที่ผลิตโดยฝ่ายขวา และพรรคการเมืองหัวอนุรักษนิยมที่จัดตั้งขึ้นในช่วงแรก ๆ ของ[[สาธารณรัฐไวมาร์]] ซึ่งรวมไปถึง[[พรรคนาซี]]ของฮิตเลอร์ สำหรับเขาแล้วรูปแบบการจำลองสงครามโลกครั้งที่หนึ่งมีความสำคัญส่วนตัวสำหรับเขามาก<ref name="brendon8">[[Piers Brendon]], ''The Dark Valley: A Panorama of the 1930s'', p8 ISBN 0-375-40881-9</ref> เขาได้ทราบข่าวความพ่ายแพ้ของเยอรมนีในระหว่างที่รักษาตัวจากอาการตาบอดชั่วคราวจากการโจมตีด้วยแก๊สมัสตาร์ดในการรบที่แนวหน้า<ref name="brendon8"/> ในหนังสือ ''[[ไมน์คัมพฟ์]]'' (การต่อสู้ของข้าพเจ้า) ของเขา เขาได้อธิบายถึงวิสัยทัศน์ของเขาที่ทำให้เขาเข้าสู่วงการเมือง ตลอดอาชีพของเขา เขามักกล่าวโทษเหตุการณ์ "อาชญากรรมเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1918" ที่มีการลอบแทงทหารบกเยอรมันจากด้านหลังเสมอ