ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตำนานแทงข้างหลัง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.6
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "อีริช" → "เอริช" +แทนที่ "ลูเดนดอร์ฟฟ์" → "ลูเดินดอร์ฟ" +แทนที่ "ไรน์แลนด์" → "ไรน์ลันท์" +แทนที่ "ฮินเดนเบิร์ก" → "ฮินเดินบวร์ค" ด้วยสจห.
บรรทัด 8:
 
== แนวคิด ==
แก่นของตำนานแทงข้างหลังถูกกล่าวถึงอย่างชัดเจนที่สุดโดย พลเอก อี[[เอริช ลูเดนดอร์ฟฟ์ลูเดินดอร์ฟ]] หนึ่งในสองผู้บัญชาการระดับสูงสุดของเยอรมนี ใน ค.ศ.เมื่อปี 1919 เขาประณามรัฐบาลเบอร์ลินและประชากรพลเรือนแก่การสงบศึก/ยอมจำนนในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1918 โดยพูดว่า ทั้งสองต่างล้มเหลวที่จะสนับสนุนเขา ทำให้เขาผิดหวัง และได้พิสูจน์ตนเองแล้วว่า ไม่คู่ควรกับประเพณีของชาตินักรบ เขาทำให้ระบบคำศัพท์ดอลช์สทอสส์ (Dolchstoß terminology) แพร่หลาย และกลายเป็นผู้นำฝ่ายขวาที่โดดเด่นในคริสต์ทศวรรษ 1920<ref>Lindley Fraser, ''Germany between Two Wars: A Study of Propaganda and War-Guilt'' (Oxford University Press, 1945) p. 16 </ref>
 
ปฏิกิริยาของประชาชนเยอรมันต่อ[[สนธิสัญญาแวร์ซาย]] ค.ศ. 1919 นั้นเป็นการคัดค้านอย่างสูง ด้วยผลแห่งสนธิสัญญาฯ ดินแดนของเยอรมนีถูกตัดไปราว 13% เชื้อชาติเยอรมันหลายล้านคนอยู่ถูกต่างชาติปกครอง, แม้พวกเขาจะเป็นคนส่วนใหญ่ในพื้นที่เหล่านี้จำนวนมาก, ไรน์แลนด์ไรน์ลันท์ถูกทำให้ปลอดทหาร และทหารสัมพันธมิตรยึดครองในหลายพื้นที่ นอกจากนี้ ยังบังคับให้จ่าย[[ค่าปฏิกรรมสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง|ค่าปฏิกรรมสงคราม]]มหาศาลภายในเวลา 70 ปี แม้จะยุติลงใน ค.ศ. 1931 (ก่อนจะกลับมาจ่ายอีกหลัง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]) ส่วนสำคัญที่สุดของสนธิสัญญาที่เกี่ยวข้องกับตำนานแทงข้างหลัง คือ "อนุประโยคความรับผิดในอาชญากรรมสงคราม" ซึ่งบังคับให้เยอรมนียอมรับความรับผิดชอบแก่ความเป็นปรปักษ์ทั้งหมด
 
=== ปฏิกิริยาหลังสงครามและผลกระทบ ===
[[ไฟล์:1920 poster 12000 Jewish soldiers KIA for the fatherland.jpg|thumb|right|200px|"ทหารยิว 12,000 นายเสียชีวิตในสมรภูมิเกียรติยศเพื่อปิตุภูมิ" ใบปลิวซึ่งตีพิมพ์ใน ค.ศ. 1920 โดยทหารผ่านศึกยิวชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ตอบโต้การกล่าวหาการขาดความรักชาติ]]
พวกอนุรักษนิยม ชาตินิยม และอดีตผู้นำทางทหารเริ่มพูดวิจารณ์เกี่ยวกับสันติภาพกับนักการเมืองไวมาร์ พวกสังคมนิยม พวก[[คอมมิวนิสต์]] [[ยิว]] และบางครั้งรวมถึงคาทอลิก ซึ่งถูกมองว่ามีพิรุธเกี่ยวกับการทึกทักเอาเองว่าตนมีความจงรักภักดีต่อชาติเป็นพิเศษ มีการอ้างว่าพวกเขาไม่ได้สนับสนุนสงครามและมีส่วนขายชาติเยอรมนีให้ข้าศึก อาชญากรพฤศจิกายนเหล่านี้ หรือผู้ที่ราวกับได้ประโยชน์จากสาธารณรัฐไวมาร์ที่เพิ่งก่อตั้งใหม่ ถูกมองว่า "แทงพวกเขาจากข้างหลัง" ที่แนวหน้า ไม่ว่าจะโดยการวิจารณ์ชาตินิยมเยอรมัน ยุยงความไม่สงบและการนัดหยุดงานในอุตสาหกรรมทหารที่สำคัญหรือการค้ากำไรเกินควร ที่สำคัญ การกล่าวหามีว่า คนเหล่านี้กบฏต่ออุดมการณ์ร่วมที่ "กุศลและชอบธรรม" ทฤษฎีเหล่านี้ได้รับการยอมรับจากข้อเท็จจริงที่ว่า เมื่อเยอรมนียอมจำนนในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1918 กองทัพเยอรมันยังอยู่ในดินแดนฝรั่งเศสและเบลเยียม เบอร์ลินยังอยู่ห่างจากแนวรบที่ใกล้ที่สุด 450 ไมล์ และกองทัพเยอรมันถอนตัวจากสมรภูมิอย่างเป็นระเบียบดีอยู่
 
กองทัพสัมพันธมิตรได้รับเสบียงจากสหรัฐอเมริกาอย่างพอเพียง ซึ่งยังมีกองทัพใหม่ที่พร้อมทำการรบ แต่สหราชอาณาจักรและฝรั่งเศสนั้นกรำศึกเกินกว่าจะพิจารณาการรุกรานเยอรมนีโดยมีผลกระทบตามมาที่ไม่ทราบ บนแนวรบด้านตะวันตก ไม่มีกองทัพสัมพันธมิตรทัพใดเจาะผ่านพรมแดนเยอรมนีด้านตะวันตก และบนแนวรบด้านตะวันออก เยอรมนีชนะสงครามต่อรัสเซียแล้ว ซึ่งยุติลงด้วย[[สนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์]] ทางตะวันตก เยอรมนีเกือบชนะสงครามด้วยการรุกฤดูใบไม้ผลิ ความล้มเหลวของการรุกถูกประณามว่าเป็นเพราะการนัดหยุดงานในอุตสาหกรรมอาวุธในช่วงเวลาวิกฤตของการรุก อันเป็นที่มาของตำนานแทงข้างหลัง ทิ้งให้ทหารขาดเสบียงยุทธภัณฑ์ที่เพียงพอ การนัดหยุดงานดังกล่าวถูกมองว่าถูกยุยงจากกลุ่มทรยศ การนัดหยุดงานดังกล่าวมองข้ามฐานะทางยุทธศาสตร์ของเยอรมนีและละเลยว่า ความพยายามของปัจเจกบุคคลที่ถูกลดความสำคัญทางใดทางหนึ่งบนแนวรบอย่างไร เพราะคู่สงครามกำลังสู้รบกับอยู่ในสงครามรูปแบบใหม่ การปรับให้สงครามเป็นอุตสาหกรรมได้ลดลักษณะความเป็นมนุษย์ของกระบวนการ และทำให้ความพ่ายแพ้รูปแบบใหม่เป็นไปได้ ซึ่งชาวเยอรมันประสบ เมื่อ[[สงครามเบ็ดเสร็จ]]กำเนิดขึ้น
บรรทัด 24:
== จุดกำเนิด ==
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 146-1973-076-58, Reichskanzler Cuno und Reichspräsident Ebert crop Ebert only.jpg|thumb|200px|มีเรื่องเล่าเกี่ยวกับ[[ฟรีดริช เอเบิร์ท]] ขณะที่เขาดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี[[สาธารณรัฐไวมาร์]]ชั่วคราวใน ค.ศ. 1919 ว่า เขากล่าวแก่ทหารผ่านศึกที่กลับบ้านว่า ''"ไม่มีข้าศึกใดพิชิตท่าน"'']]
ช่วงปลายสงคราม เยอรมนีอยู่ภายใต้การปกครองแบบ[[เผด็จการทหาร]]ในทางปฏิบัติ โดยมีกองบัญชาการทหารสูงสุดของเยอรมนี ({{lang-de|Oberste Heeresleitung}}) และ จอมพล [[เพาล์ ฟ็อน ฮินเดินบวร์ค]] ในฐานะผู้บัญชาการทหารสูงสุด ถวายคำแนะนำแก่[[สมเด็จพระจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี|สมเด็จพระจักรพรรดิไกเซอร์]] หลังการรุกครั้งสุดท้ายบนแนวรบด้านตะวันตกประสบความล้มเหลว ความพยายามทำสงครามก็ถึงวาระสุดท้าย กองบัญชาการทหารสูงสุดสนองโดยการเปลี่ยนรัฐบาลพลเรือนอย่างรวดเร็ว พลเอกลูเดนดอร์ฟฟ์ลูเดินดอร์ฟ หัวหน้าเสนาธิการ กล่าวว่า
<blockquote style="margin::1em;">''ผมทูลถามจักรพรรดิองค์ไคเซอร์ในการนำบรรดาแวดวงเหล่านั้นเถลิงอำนาจ ซึ่งเราเองก็ขอบคุณมากที่มาได้นานถึงเพียงนี้ เพราะฉะนั้น เราจะนำเหล่าสุภาพบุรุษเหล่านั้นเข้าเป็นคณะรัฐมนตรี ตอนนี้ พวกเขาสามารถสร้างสันติภาพที่ต้องทำ พวกเขาสามารถกินน้ำแกงที่พวกเขาเตรียมไว้ให้เรา!''</blockquote>
 
เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 คณะผู้แทน[[สาธารณรัฐไวมาร์]]ที่เพิ่งตั้งใหม่นั้น ได้ลงนามการสงบศึกกับฝ่ายสัมพันธมิตร อันเป็นการยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ผลกระทบที่ตามมาจากสนธิสัญญาแวร์ซายก่อให้เกิดความสูญเสียดินแดนและเศรษฐกิจอย่างมหาศาล เมื่อสมเด็จพระจักรพรรดิไกเซอร์ทรงถูกบังคับให้สละราชสมบัติและกองทัพสละอำนาจบริหาร รัฐบาลพลเรือนชั่วคราวก็ได้เรียกร้องสันติภาพ ลายมือชื่อของ[[มัททิอัส เออร์ซแบร์เกอร์]] พลเรือน ปรากฏบนการสงบศึก ซึ่งต่อมาเขาถูกสังหารในภายหลังเพราะการทรยศที่ถูกกล่าวหา การเสียชีวิตของเขานำไปสู่การลงนาม[[สนธิสัญญาแวร์ซาย]]
 
การถือกำเนิดอย่างของ "ตำนานแทงข้างหลัง" อย่างเป็นทางการนั้นอาจสามารถสืบได้ถึงฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 1919 เมื่อลูเดนดอร์ฟฟ์ลูเดินดอร์ฟกำลังทานอาหารกับพลเอกนีล มัลคอล์ม หัวหน้าทูตทหารอังกฤษในกรุงเบอร์ลิน พลเอก นีล มัลคอล์ม มัลคอล์มถามลูเดนดอร์ฟฟ์ว่ามัลคอล์มถามลูเดินดอร์ฟว่า เหตุใด เขาจึงคิดว่าเยอรมนีแพ้สงคราม ลูเดนดอร์ฟฟ์ลูเดินดอร์ฟตอบคำแก้ตัวเป็นรายการของเขา รวมทั้งที่ว่า แนวหลังพังกองทัพ
<blockquote style="margin::1em;">''มัลคอล์มถามเขาว่า "ท่านนายพล คุณหมายความว่า คุณถูกแทงข้างหลังงั้นหรือ" ดวงตาของลูเดนดอร์ฟฟ์สว่างขึ้นลูเดินดอร์ฟสว่างขึ้น และเขากระโจนหาวลีนั้นเหมือนสุนัขกับกระดูก "ถูกแทงข้างหลัง?" เขาย้ำ "ใช่ นั่นแหละ แน่นอน เราถูกแทงข้างหลัง" และนั่นจึงถือกำเนิดตำนานซึ่งไม่เคยตายหมดสิ้น''<ref>{{cite journal | url=http://www.vqronline.org/articles/1938/spring/wheelerbennett-ludendorff-soldier/ | title=Ludendorff: The Soldier and the Politician | author=John W. Wheeler-Bennett | journal=The Virginia Quarterly Review | year=1938 | month=Spring | volume=14 | issue=2 | pages=187–202}}</ref></blockquote>
 
ประโยคดังกล่าวเป็นที่ถูกใจลูเดนดรอฟอย่างมาก เขาได้เผยแพร่ประโยคนี้ให้กับเหล่ากองเสนาธิการบรรดานายทหารเสนาธิการโดยกล่าวว่านี่เป็นแนวคิดที่ "เป็นทางการ" ก่อนที่ต่อมาคำนี้จะกระจายไปสู่สังคมเยอรมนีทุกภาคส่วน แนวคิดนี้ได้ถูกพรรคการเมืองฝ่ายขวาทั้งหลายหยิบยกมาเป็นประเด็นโจมตีรัฐบาลสาธารณรัฐไวมาร์ภายใต้การนำของพรรคเอสพีดี ตั้งแต่เถลิงอำนาจหลัง[[การปฏิวัติเยอรมัน ค.ศ. 1918–1919|การปฏิวัติเยอรมนี]] ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1918
 
ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1919 สมาชิกรัฐสภาไวมาร์ได้แต่งตั้งชุด ''Untersuchungsausschuß für Schuldfragen'' ขึ้นเพื่อสืบหาสาเหตุของสงครามโลกและปัจจัยที่นำไปสู่ความพ่ายแพ้ของเยอรมนี ในวันที่ 18 พฤศจิกายน จอมพลฮินเดนเบิร์กนเดินบวร์คได้ให้การยืนยันต่อหน้าคณะกรรมการของรัฐสภา และได้มีการกล่าวอ้างถึงบทความ ''Neue Zürcher Zeitung'' ในวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1918 ซึ่งเป็นการสรุปบทความสองบทความก่อนหน้านั้นใน[[เดย์ลี่ เมล์]] ที่เขียนโดยนายพลชาวอังกฤษ [[เฟรเดอริก บาร์ตัน เมาไรซ์]] ด้วยประโยคที่ว่า กองทัพเยอรมันถูก "แทงข้างหลังโดยพลเมืองชาวเยอรมันเอง" (เมาไรซ์ปฏิเสธในภายหลังว่าเขาไม่ได้กล่าวถึงแนวคิดนี้แต่อย่างใด) การให้ปากคำของฮินเดนเบิร์กนเดินบวร์คนี้เองที่ทำให้แนวคิดดังกล่าวแพร่กระจายไปกว้างขวางในเยอรมนีภายหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
 
ส่วนทางด้านริชาร์ด สไตกมันน์-กัลล์ กล่าวว่า ตำนานแทงข้างหลังสามารถย้อนรอยไปจนถึงการเทศนาของอนุศาสนาจารย์ บรูโน เดอริง (Bruno Doehring) เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1918 หกเดือนก่อนสงครามยุติ<ref>[[Richard Steigmann-Gall]], ''The Holy Reich: Nazi Conceptions of Christianity, 1919–1945'' (Cambridge: [[Cambridge University Press]], 2003) p. 16</ref> บอริส บาร์ท นักวิชาการชาวเยอรมัน มีความเห็นแย้งกับแนวคิดของสไตกมันน์ โดยกล่าวว่า เดอริงไม่ได้ใช้คำว่า "แทงข้างหลัง" แต่อย่างใด เพียงแต่กล่าวถึงการทรยศเท่านั้น<ref>Boris Barth, ''Dolchstoßlegenden und politische Disintegration: Das Trauma der deutschen Niederlage im Ersten Weltkrieg, 1914-1933'' (Düsseldorf: Droste, 2003), 167 and 340f. Barth says Doehring was an army chaplain, not a court chaplain. The following references to Barth are on pages 148 (Müller-Meiningen), and 324 (NZZ article, with a discussion of the Ludendorff-Malcolm conversation).</ref> บาร์ทเขียนเอกสารที่กล่าวถึงตำนานแทงข้างหลังครั้งแรกในบันทึกการประชุมของพรรคการเมืองสายกลางในมิวนิก เลอเวนบรอย-เคลเลอร์ เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 1918 ซึ่งเอิร์สต์ มึลเลอร์ ไมนิงเกน สมาชิกของรัฐบาลผสมชุดใหม่แห่งรัฐสภา[[ไรชส์ทาค (จักรวรรดิเยอรมัน)|ไรชส์ทาค]] ได้ใช้คำดังกล่าวเพื่อปลุกใจให้ผู้ฟังมีความรู้สึกฮึกเหิม
บรรทัด 40:
<blockquote style="margin::1em;">''เมื่อการรบในแนวหน้าดำเนินไป พวกเราซึ่งมีหน้าที่ที่จะรักษาบ้านเกิดเมืองนอนเอาไว้นั้นควรละอายแก่ตนเองต่อหน้าลูกหลานของเราหากว่าเราโจมตีแนวหน้าจากข้างหลังโดยการแทงมีด (wenn wir der Front in den Rücken fielen und ihr den Dolchstoss versetzten.)''</blockquote>
 
บาร์ทได้แสดงให้เห็นอีกว่า คำดังกล่าวเป็นที่นิยมมากในหนังสือพิมพ์เยอรมันฉบับหนึ่งซึ่งมีเนื้อหาแสดงความรักชาติที่ชื่อ ''Deutsche Tageszeitung'' ที่มีการหยิบยกเอาบทความ ''Neue Zürcher'' ซึ่งเป็นคำตอบของฮินเดนเบิร์กนเดินบวร์คต่อหน้าคณะกรรมการไต่สวนของรัฐสภามากล่าวอ้างอยู่บ่อยครั้ง
 
การโจมตีแนวคิดสมคบคิดของชาวยิวในประเด็นความพ่ายแพ้ของเยอรมนีนั้นส่วนใหญ่ตกอยู่กับบุคคลที่มีชื่อเสียง อย่าง คุร์ท ไอซเนอร์ ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ผู้อาศัยอยู่ในนครมิวนิก เขาได้เขียนเกี่ยวกับสงครามซึ่งผิดกฎหมายนับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1916 เป็นต้นมา นอกจากนี้เขายังมีส่วนเกี่ยวข้องอย่างมากในการปฏิวัติมิวนิก จนกระทั่งเขาถูกลอบสังหารในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1919 สาธารณรัฐไวมาร์ภายใต้การนำของ[[ฟรีดริช เอเบิร์ท]] ได้ปราบปรามการก่อจลาจลของเหล่าชนชั้นแรงงานอย่างรุนแรง และปราบหน่วยทหารเสรีที่จัดตั้งขึ้นทั่วประเทศเยอรมนี ด้วยความช่วยเหลือจากกุสตาฟ นอร์เก และนายพลแห่งกองกำลังป้องกันแห่งชาติ วิลเฮม โกรเนอร์ แม้ว่าการโจมตีนั้นจะมีการรับฟังความเห็นของผู้อื่นก็ตาม แต่ความชอบธรรมของสาธารณรัฐนั้นก็ได้ถูกโจมตีโดยมีการกล่าวอ้างประเด็นการแทงข้างหลัง โดยผู้แทนของหน่วยทหารเสรีจำนวนมาก อย่างเช่น มัททิอัส เออร์ซเบอร์เกอร์ และวัลเทอร์ ราเทอนาว ถูกลอบสังหาร ผู้นำของกลุ่มถูกตราหน้าว่าเป็นอาชญากรและชาวยิว โดยสื่อ[[ฝ่ายขวา (การเมือง)|ฝ่ายขวา]]ของ [[อัลเฟรด ฮูเกนเบิร์ก]]
 
นักประวัติศาสตร์ชาวเยอรมัน ฟรีดิช มินเนค พยายามสืบหาร่องรอยของที่มาของคำนี้อยู่ก่อนแล้ว ตามที่ระบุในหนังสือพิมพ์เวียนนิช ''Neue Freie Presse'' เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน ค.ศ. 1922 โดยในการเลือกตั้งแห่งชาติประจำ ค.ศ. 1924 วารสารเกี่ยวกับ[[ศาสนา]]ที่ชื่อ ''Süddeutsche Monatshefte'' ได้ลงพิมพ์บทความชุดหนึ่งในระหว่างความพยายามทรยศต่อประเทศของ[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] และลูเดนดอร์ฟฟ์ในลูเดินดอร์ฟใน ค.ศ. 1923 โดยบทความนั้นมีเนื้อหาต่อว่าพรรคเอสพีดีและสหภาพแรงงานเกี่ยวกับความพ่ายแพ้ของเยอรมนีในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หลังตีพิมพ์บทความ บรรณาธิการของหนังสือพิมพ์พรรคเอสพีดีได้ยื่นฟ้องนิตยสารนั้นในข้อหาหมิ่นประมาท ทำให้เกิดการลุกฮือจนเป็นเหตุการณ์ที่เรียกว่า ''Munich Dolchstossprozess'' ตั้งแต่วันที่ 19 ตุลาคม ถึง 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1924 มีบุคคลสำคัญหลายคนได้ให้การเป็นพยานในศาลชั้นต้น ซึ่งรวมถึงคณะกรรมการของรัฐสภาที่สืบสวนสาเหตุความพ่ายแพ้สงครามเช่นกัน ทำให้มีผลการตัดสินคดีหมิ่นประมาทบางส่วนถูกเปิดเผยสู่สาธารณชนก่อนที่คณะกรรมการดังกล่าวจะได้ตีพิมพ์ผลการตัดสินออกมาใน ค.ศ. 1928
 
ตำนานแทงข้างหลังนั้นเป็นภาพพจน์ที่ใช้ในการโฆษณาชวนเชื่อที่ผลิตโดยฝ่ายขวา และพรรคการเมืองหัวอนุรักษนิยมที่จัดตั้งขึ้นในช่วงแรก ๆ ของ[[สาธารณรัฐไวมาร์]] ซึ่งรวมไปถึง[[พรรคนาซี]]ของฮิตเลอร์ สำหรับเขาแล้วรูปแบบการจำลองสงครามโลกครั้งที่หนึ่งมีความสำคัญส่วนตัวสำหรับเขามาก<ref name="brendon8">[[Piers Brendon]], ''The Dark Valley: A Panorama of the 1930s'', p8 ISBN 0-375-40881-9</ref> เขาได้ทราบข่าวความพ่ายแพ้ของเยอรมนีในระหว่างที่รักษาตัวจากอาการตาบอดชั่วคราวจากการโจมตีด้วยแก๊สมัสตาร์ดในการรบที่แนวหน้า<ref name="brendon8"/> ในหนังสือ ''[[ไมน์คัมพฟ์]]'' (การต่อสู้ของข้าพเจ้า) ของเขา เขาได้อธิบายถึงวิสัยทัศน์ของเขาที่ทำให้เขาเข้าสู่วงการเมือง ตลอดอาชีพของเขา เขามักกล่าวโทษเหตุการณ์ "อาชญากรรมเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1918" ที่มีการลอบแทงทหารบกเยอรมันจากด้านหลังเสมอ