ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาสนาพุทธในประเทศจีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 44:
* นิกายปายจอง เป็นนิกายที่แพร่เข้ามาก่อนนิกายอื่น ไม่เคร่งวินัย [[ภิกษุ]]เลี้ยงสัตว์เลี้ยง เช่น เป็ด ไก่ ได้
* นิกายกึงโยน เป็นนิกายที่แพร่เข้าสู่[[เมืองขอน]]เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 20 ได้รับอิทธิพลจาก[[เชียงใหม่]] มีการแบ่งย่อยเป็นโยนสวนกับโยนป่าเหมือนในเมืองเชียงใหม่ เขียนคัมภีร์ด้วย[[อักษรล้านนา]]
* นิกายโตเล เป็นนิกายที่ได้รับอิทธิพลจาก[[พม่า]]เข้าสู่เมืองมาวเมื่อ พ.ศ. 2294 ถือวินัยเคร่งครัดกว่านิกายอื่น มีการบวชสามเณรีและ[[ภิกษุณี]]
* นิกายชุติหรือโจติเป็นนิกายที่เกิดขึ้นในใต้คงโดยภิกษุชาวไทใหญ่เห็นว่าพระสงฆ์เดิมถือวินัยหย่อนยาน แพร่เข้าสู่[[เมืองแจ้ฝาง]]และ[[เมืองมาว]]เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 20 เคยแพร่หลายที่เมืองขอนระยะหนึ่งเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 25 แต่ภายหลังพ่ายแพ้นิกายปายจอง คณะสงฆ์นิกายนี้ในเมืองขอนจึงถอนตัวจากเมืองขอนเข้าสู่พม่าไปตั้งศูนย์กลางที่[[เมืองมีด]]และ[[เมืองยาง]]ใน[[รัฐฉาน]]ตามลำดับ ภิกษุในนิกายนี้มีวัตรปฏิบัติต่างจาก 3 นิกายข้างต้น ทั้งภิกษุและฆราวาสต่างเคร่งครัดวินัย
* นิกายชุติหรือโจติเป็นนิกายที่เกิดขึ้นในใต้คง
เมื่อ พ.ศ. 2532 สำรวจพบว่าชาวพุทธในไต้คง เป็นชาวไทใหญ่ 90% ชาวปะหล่องและชาวอาชาง 10% ในจำนวนนี้นับถือนิกายปายจอง 52% นิกายโตเล 33% นิกายกึงโยน 12% และนิกายชุติ 3%<ref>เจีย แยนจอง. แคว้นใต้คง:ถิ่นไทยเหนือในยูนนาน. ใน คนไทไม่ไทย แต่เป็นเครือญาติชาติภาษา. กทม. มติชน .2549. หน้า 179-183</ref>
 
== อ้างอิง ==
<references />