ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลากระป๋อง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZeroSixTwo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Nareerat Prasopnate (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ต้นกำเนิด: แก้คำผิด
บรรทัด 7:
[[นีกอลา อาแปร์]] ผู้ได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งอาหารกระป๋องในปี ค.ศ.1795 โดยเขาได้เริ่มการทดลองนำปลาลงไปขวดโหลและนำโหลไปต้มในน้ำเดือดในช่วงปีแรกของ[[สงครามนโปเลียน]]ทางรัฐบาลฝรั่งเศสได้เสนอเงินรางวัล 12,000 ฟรังก์ให้กับผู้ที่สามารถคิดค้นวิธีการเก็บอาหารให้อยู่ได้นานๆ เพื่อใช้เป็นเสบียงอาหารให้แก่ทหารในช่วงสงคราม และเขานำผลงานของตนไปลงประกวดและชนะรางวัลได้ในปี 1810 แต่ยังไม่มีใครทราบถึงสาเหตุที่อาหารกระป๋องนั้นไม่เน่าเสียซึ่งเป็นช่วง 50 ปีก่อนที่[[หลุยส์ ปาสเตอร์]]จะเข้ามามีบทบาทในวงการจุลชีววิทยาแต่อย่างไรก็ตาม บรรจุภัณฑ์ที่เป็นแก้วนั้นยากต่อการขนส่งเข้าไปในสนามรบ แต่ต่อมาไม่นาน นักประดิษฐ์ชาวอังกฤษที่ชื่อ ปีเตอร์ ดูรันด์ ได้คิดค้นวิธีการของเขาเองโดยการพัฒนากระป๋องโลหะที่สามารถนำอาหารมาบรรจุและผนึกปิดฝาได้ขึ้นมาซึ่งได้ถูกนำมาใช้จนในปัจจุบันนี้
 
การบรรจุกระป๋องถูกใช้ในสก็อตเลนด์ในช่วงทศวรรศทศวรรษ 1830 เพื่อให้ปลาคงความสดได้ก่อนที่นำไปขาย และในช่วงปี 1840 [[ปลาแซลมอน]]ได้ถูกนำมาทำเป็นปลากระป๋องใน[[รัฐเมน]]และ[[รัฐนิวบรันสวิก]] ต้นกำเนิดหลักของการทำปลาแซลมอนกระป๋องในทางการค้าเริ่มขึ้นใน[[รัฐแคลิฟอร์เนีย]]และในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกาโดยเฉพาะในบริเวณแม่น้ำโคลัมเบีย
 
== ชนิดของปลาที่นิยมนำมาทำเป็นปลากระป๋อง ==
บรรทัด 20:
 
=== ปลาทูน่า ===
ปลาทูน่ากระป๋องมักจะนำบรรจุพร้อมกับ[[น้ำมันพืช]] น้ำเกลือหรือซอสต่าง ๆ โดยที่ปลาทำที่นิยมนำมาทำมักจะเป็น[[ปลาทูน่าครีบเหลือง]]หรือ[[ปลาโอลาย]]ที่จับกันในที่ๆห่างไกลจากโรงงานที่ผลิตซึ่งถ้าเก็บรักษาปลาก่อนที่จะนำมาผลิตได้ไม่ดีก็จะทำให้ปลาเสียคุณภาพไปได้ กระบวนการผลิตจะนำปลาไปล้าง นำเครื่องในออก คัดแยกเนื้อและปิดบรรจุกระป๋อง โดยเนื้อที่มีสีเข้มจะถูกไปทำเป็นอาหารของ[[แมว|เจ้านาย]] การนำกระป๋องที่บรรจุปลาไปผ่านความร้อนจะสามารถฆ่าเชื้อโรคต่าง ๆ ได้แต่ไม่สามารถทำลายสารฮิสตามีนที่สร้างกลิ่นหืนแบบฉบับของปลาทูน่ากระป๋องได้
 
มาตรฐานนานาชาติได้ระบุระดับสารฮิสตามีนไว้อยู่ที่ 200 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ระดับของโอเมก้า 3 ที่พบมักจะมีหลายหลากหลายระดับด้วยกันซึ่งเป็นผลจากขั้นตอนการผลิตที่ทำลายกรดไขมันโอเมก้า 3 ในเนื้อปลา
 
=== ปลาอื่นๆ ===