ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มิดิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว
MayThe2nd (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อน
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{ปรับภาษา}}
[[ไฟล์:NoteNamesFrequenciesAndMidiNumbers v2.svg|thumb|ชื่อโน้ตและหมายเลขโน้ตมิดิ]]
 
สำหรับมิติในทางเรขาคณิต ดูที่[[https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B4]]
'''มิดิ''' หรือ '''มาตรฐานการประสานเครื่องดนตรีแบบดิจิทัล''' <ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตยสถาน] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20170715173151/http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php |date=2017-07-15 }} (สืบค้นออนไลน์)</ref> ({{lang-en|Music Instrument Digital Interface: MIDI}}) เป็น[[โพรโทคอล]]มาตรฐานที่คิดค้นขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2523<ref>http://mustech.net/2006/09/15/midi-standards-a-brief-history-and-explanation</ref> โดยเป็นระบบการติดต่อสื่อสารทางดนตรี ของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทางดนตรี เช่น คอมพิวเตอร์ [[ซินธิไซเซอร์]] ซีเควนเชอร์ ซาวด์โมดูล [[แซมเพลอร์]] ซึ่งใช้สัญญาณไฟฟ้าแบบดิจิตอล ในการส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อ โดยจะมีความหมายเป็นโน้ตดนตรี และค่าการควบคุมลักษณะเสียงต่าง ๆ
 
บรรทัด 63:
 
บริษัท ที่ผลิตเครื่องดนตรียักษ์ใหญ่อย่าง ROLAND CORPERATION ที่นอกจากจะมีชื่อเสียงทางด้านคุณภาพที่เชื่อถือได้เกี่ยวกับ เครื่องดนตรีแล้ว ก็ยังได้เข้ามามีส่วนร่วมกับวงการคอมพิวเตอร์ด้วย โดยการผลิตซาวด์การ์ดคุณภาพสูงภายใต้มาตรฐาน GS เพื่อมาใช้ กับคอมพิวเตอร์ดนตรีโดยตรง มีทั้งแบบที่เป็นเหมือนซาวด์การ์ดทั่วไปที่ต้องเสียบเข้ากับสล้อตว่าง ๆ ของ คอมพิวเตอร์ , แบบที่เรียกว่า Daughterboard ที่ต้องเสียบไปบนซาวด์การ์ดตัวเดิม และแบบติดตั้งภายนอกหรือที่เรียกกันว่า"ซาวด์โมดูล"นั่นเอง
 
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/มิดิ"