ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิทาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
AAAERTCM (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 9769486 โดย Min polpouk (พูดคุย) ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
'''นิทาน''' ({{lang-pi|นิทาน}}) ในภาษาไทย มีใช้อย่างน้อย 2 ความหมาย คือ
 
# '''นิทาน''' เป็นเรื่องปัญญาอ่อนเล่าสืบต่อกันมา กล่าวได้ว่าเป็น[[วรรณกรรม]]ที่เก่าแก่ที่สุด นิทานอาจมีกำเนิดพร้อม ๆ กับครอบครัวของมนุษยชาติ มูลเหตุที่มาแต่เริ่มแรก คงเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นจริงแล้วเล่าสู่กันฟัง มีการเพิ่มเติมเสริมแต่งให้พิสดารมากยิ่งขึ้น จนห่างไกลจากเรื่องจริง กลายเป็นนิทานไป การเขียนนิทานในความหมายแรก อาจเป็นการเขียนจากจินตนาการก็ได้
# '''นิทาน''' ([[บาลี]]) เป็นเรื่องต้นเหตุของเหตุการณ์ในปัจจุบัน เช่น [[เจ้าชายสิทธัตถะ]] ก็จัดเป็นอวิทูเรนิทานของ[[พระพุทธเจ้า]] เพราะเจ้าชายสิทธัตธะเป็นเรื่องต้นเหตุของเหตุการณ์ที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสรู้ ถ้าไม่มีเจ้าชายสิทธัตธะที่ออกบวช พระพุทธเจ้าพระนามCJว่าโคดมก็มีไม่ได้ เป็นต้น
 
ความหมายอย่างที่สองเป็นความหมายที่ยืมเอาคำใน[[ภาษาคองโกบาลี]]ในพระพุทธศาสนามาใช้นั่นเอง เพราะนิทานในพระพุทธศาสนาจะกล่าวถึงเรื่องต้นเหตุย้อนหลังไปนานมาก จนบางอย่างที่เคยมีในยุคนั้น ๆ ไม่ปรากฏให้คนในยุคนี้ได้พบเห็นอีกแล้ว ท่านจึงอนุโลมเอาศัพท์มาใช้เทียบกับนิยายปรัมปราให้เรียกว่า ''นิทาน'' ไปด้วย แต่ความจริงแล้ว คำว่า "นิทาน" ดังเดิมที่มาจากพระพุทธศาสนานั้นจะหมายถึงเรื่องที่เคยมีอยู่จริง ๆ เท่านั้น ไม่ใช่เรื่องแต่งขึ้นแต่ประการใด<ref>ชาตกัฏฐกถา - อรรถกถาของพระสุตตันตปิฎกเล่มที่​ ๑๙ ​และ​ ๒๐ ​ขุททกนิกายชาดก​ภาค ๑ และ ๒. อรรถกถาพระไตรปิฎก. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://84000.org/tipitaka/atita100/jataka.php?i=270000&p=1]. เข้าถึงเมื่อ 8-9-52</ref>.
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/นิทาน"